คุณช้าไปแล้ว บริการนี้ขายหมดแล้วค่ะ

โรงพยาบาลพญาไท 2

943 Phaholyothin Rd., Phyathai, Phyathai, Bangkok 10400

Phyathai 2 Hospital โรงพยาบาลพญาไท 2 2 Phyathai 2 Hospital โรงพยาบาลพญาไท 2 2
Phyathai 2 Hospital โรงพยาบาลพญาไท 2 4 Phyathai 2 Hospital โรงพยาบาลพญาไท 2 4
Phyathai 2 Hospital โรงพยาบาลพญาไท 2 5 Phyathai 2 Hospital โรงพยาบาลพญาไท 2 5
Phyathai 2 Hospital โรงพยาบาลพญาไท 2 6 Phyathai 2 Hospital โรงพยาบาลพญาไท 2 6
Phyathai 2 Hospital โรงพยาบาลพญาไท 2 1 Phyathai 2 Hospital โรงพยาบาลพญาไท 2 1

- Vladimir

บริการดี แต่ควรระบุเงื่อนไขและข้อจำกัดของ vouc

- Sariya

Great service and excellent quality

- Natthacha

โรงพยาบาลพญาไท 2 BTS สนามเป้า ทางออก 1 (Phyathai 2 Hospital) พัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อก้าวสู่การเป็น Center of Excellence Network (CoE) ด้วยการพัฒนาศักยภาพในแต่ละโรงพยาบาลใน CoE Network ให้ครอบคลุมการรักษาทุกโรคตามคุณภาพมาตรฐานสากล Joint Commission International (JCI) และการร่วมมือทางด้านการแพทย์กับสถาบันชั้นนำของโลก ในการยกระดับมาตรฐานให้ทัดเทียมกับต่างประเทศ

รายละเอียด:
• ดีลหรือคูปองจำเป็นต้องใช้ก่อนวันหมดอายุ กรุณาตรวจสอบวันหมดอายุที่ระบุไว้ในข้อมูลบริการ
• ทุกคูปองและบริการ ไม่สามารถแลกเปลี่ยนเป็นเงินสดได้
• ไม่สามารถใช้ร่วมกับรายการ Promotions ส่งเสริมการขายอื่นได้
• กรุณาแสดงคูปองจากทางอีเมลหรือ GoWabi แอพพลิเคชั่นให้กับพนักงานก่อนเข้าใช้บริการ
• กรุณาจองคิวล่วงหน้า สามารถดูรายละเอียดการติดต่อเพื่อทำการจองนัดหมายได้ที่ อีเมลยืนยันการจอง Gowabi หรือ บุ๊คกิ้งของฉัน

เพิ่มเติม
ตรวจภูมิแพ้และภาวะแพ้

ตรวจสารก่อภูมิแพ้ในอาหาร โดยวิธีการเจาะเลือด (Blood Test)
ภูมิแพ้ เกิดได้จากหลายสาเหตุ โดยผู้ที่มีอาการแพ้จะมีสัญญาณเตือน เช่น เป็นหวัดบ่อย หรือเรื้อรัง เป็นๆ หายๆ เป็นเวลานาน มีผื่นคัน แดงตามผิวหนัง คันรอบดวงตา เป็นต้น หรือในบางรายที่มีอาการแพ้รุนแรง อาจมีอาการแน่นหน้าอก หายใจไม่ออกหลังจากได้รับสารก่อภูมิแพ้ ส่วนอาการแพ้ต่อสารที่พบมากในปัจจุบัน ได้แก่ ภูมิแพ้อากาศ ภูมิแพ้ผิวหนัง ภูมิแพ้อาหาร และภูมิแพ้แมลงสัตว์กัดต่อย หากทราบสาเหตุว่ามีความเสี่ยงต่อสารก่อภูมิแพ้ชนิดใด ก็จะสามารถหลีกเลี่ยงสิ่งที่ทำให้เกิดอาการแพ้ได้
การตรวจเลือดหาภูมิแพ้อาหาร 20 ชนิด ได้แก่

1.ไข่ขาว
2.ไข่แดง
3.นมวัว
4.ข้าวสาลี
5.ข้าว
6.งา
7.ถั่วเหลือง
8.ถั่วลิสง
9.ถั่วเฮเซล
10.เนื้อวัว
11.เนื้อหมู
12.เนื้อไก่
13.หอยกาบ , กุ้งก้ามกราม , หอยนางรม
14.ปลาคอด , เฮอริ่ง , แมคเคอเรล , ลิ้นหมา
15.ปูทะเล
16.กุ้งนาง , กุ้งลายเสื้อ , กุ้งทราย , กุ้งตะกาด
17.กุ้งก้ามกราม
18.ปูม้า
19.ช็อกโกแลต
20.ผงชูรส


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ส่วนใหญ่แล้วโรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจประกอบด้วยการแพ้ที่แสดงออกทางจมูก ช่องคอ หลอดลม โดยอาจมีอาการคันตา เคืองตา หรือมีน้ำตาไหลร่วมด้วย ซึ่งภูมิแพ้ทางเดินหายจะเกิดได้ใน 2 ส่วนหลัก คือ

ทางเดินหายใจส่วนบนบริเวณโพรงจมูก อาการส่วนใหญ่ที่พบคือ ไอ จาม น้ำมูกไหล คัดจมูก หูอื้อ หายใจไม่สะดวกเพราะเนื้อเยื่อในจมูกบวมขึ้น
ทางเดินหายใจส่วนล่างบริเวณหลอดลม ผู้ป่วยมักมีอาการหายใจหอบเหนื่อย หายใจเสียงหวีด ไอเรื้อรัง เหนื่อยง่าย หรือเป็นโรคหืด ที่คนส่วนมากชอบเรียกว่าโรคหอบหืด
การตรวจเลือดหาภูมิแพ้อาหาร 20 ชนิด ได้แก่
ไข่ขาว
ไข่แดง
นมวัว
ข้าวสาลี
ข้าว
งา
ถั่วเหลือง
ถั่วลิสง
ถั่วเฮเซล
เนื้อวัว
เนื้อหมู
เนื้อไก่
หอยกาบ , กุ้งก้ามกราม , หอยนางรม
ปลาคอด , เฮอริ่ง , แมคเคอเรล , ลิ้นหมา
ปูทะเล
กุ้งนาง , กุ้งลายเสื้อ , กุ้งทราย , กุ้งตะกาด
กุ้งก้ามกราม
ปูม้า
ช็อกโกแลต
ผงชูรส


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ทำไมควรตรวจหาสารก่อภูมิแพ้
เพราะเมื่อร่างกายรับสารก่อภูมิแพ้จากการสูดดมผ่านทางเดินหายใจ สัมผัสทางผิวหนัง หรือผ่านทางระบบทางเดินอาหาร และสารก่อภูมิแพ้สัมผัสกับเยื่อบุของร่างกาย…ร่างกายจะปล่อยสาร ที่เรียกว่า “ฮีสตามีน” ออกมา ทำให้เกิดอาการระคายเคือง และอาการอื่นๆ ตามมา
ดังนั้น การที่เรารู้แน่ชัดว่าเราแพ้อะไรบ้าง ก็จะทำให้เราสามารถหลีกเลี่ยงสิ่งที่จะกระตุ้นให้เกิดอาการแพ้ได้ ซึ่งในทางการแพทย์ จะมีวิธีการตรวจหาสารก่อภูมิแพ้ทางผิวหนัง เพื่อทำการทดสอบอาการแพ้จากปัจจัยต่างๆ โดยแพทย์จะเป็นผู้พิจารณาตามความเหมาะสมในแต่ละบุคคล
ตรวจหาสารก่อภูมิแพ้ในร่างกาย 40 ชนิด โดยการเจาะเลือด


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

เพราะการแพ้อาหารแบบแฝง (Food Intolerance) นั้นแตกต่างไปจากการแพ้อาหารแบบเฉียบพลัน (Food Allergy) ที่จะแสดงอาการให้เห็นทันทีหลังสัมผัสสารก่อภูมิแพ้ แต่การแพ้อาหารแบบแฝงจะเกิดขึ้นหลังจากการรับประทานอาหารชนิดเดิมอย่างซ้ำๆ จนระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายเข้าใจว่าอาหารนั้นเป็นสิ่งแปลกปลอม อาการจะแสดงแตกต่างกันออกไปในแต่ละบุคคล และไม่แสดงอาการในทันที มักจะเกิดหลังรับประทานอาหารที่แพ้แล้วหลายวัน ทำให้สังเกตได้ยาก และทำให้ไม่สามารถระบุชนิดอาหารที่แพ้ได้ อาการที่เกิดขึ้นนั้นจะมีความหลากหลาย เรื้อรังแต่ไม่รุนแรง เช่น ปวดศีรษะเรื้อรัง ไมเกรน ภาวะสมาธิสั้น คัดจมูก น้ำมูกไหลเรื้อรัง ผื่นลมพิษเรื้อรังไม่ทราบสาเหตุ ท้องเสีย ลำไส้ระคายเคือง ลำไส้อักเสบ ท้องผูก จุกเสียดแน่นท้อง น้ำหนักขึ้นง่าย ปวดกล้ามเนื้อ

หากเรายังรับประทานอาหารตัวที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยานี้สะสมต่อเนื่องก็อาจก่อให้เกิดปัญหาเรื้อรัง ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ หรือแม้แต่เกิดการรบกวนระบบประสาทและความจำ เช่น ในภาวะสมาธิสั้น ไมเกรน เป็นต้น
การแพ้อาหารแบบแอบแฝง (IgG) ส่งผลเสียต่อสุขภาพอย่างไรบ้าง

-ปวดศีรษะเรื้อรัง ไมเกรน
-ภาวะสมาธิสั้น
-คัดจมูก น้ำมูกไหล เรื้อรัง
-ผื่นลมพิษเรื้อรังไม่ทราบสาเหตุ
-สิวเรื้อรัง
-ท้องเสีย ลำไส้ระคายเคือง (IBS) ลำไส้อักเสบ (Crohn’s disease)
-ท้องผูก จุกเสียดแน่นท้อง
-น้ำหนักขึ้นง่าย
-ปวดกล้ามเนื้อ
-โรคแพ้ภูมิตนเอง (SLE) โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์


Food Intolerance เป็นโปรแกรมที่เข้าไปคัดกรองการแพ้ดังกล่าว ผ่านการตรวจปฏิกิริยาของร่างกายด้วย Immunoglobulin G4 ต่ออาหาร พร้อมกับการให้คำแนะนำในการปฏิบัติตนสำหรับการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมและการรับประทานอาหารทดแทน



สารพิษสะสมอยู่ในร่างกายเรามากน้อยแค่ไหน ?
- เราสัมผัสกับสารโลหะหนักและสารพิษตลอดเวลา ทั้งจากอาหาร อากาศ เครื่องสำอาง เป็นสิ่งที่ ป้องกันและหลีกเลี่ยงได้ยาก โลหะหนักเหล่านี้ เมื่ออยู่ในระดับน้อยอาจไม่แสดงอาการ แต่เมื่อมีการสะสมมากขึ้นเรื่อยๆ จะส่งผลต่อการทำงานของร่างกาย ก่อให้เกิดอนุมูลอิสระที่เป็นอันตรายกับร่างกาย เพิ่มความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน อัลไซ เมอร์ และมะเร็งต่างๆ การตรวจโลหะหนักในร่างกายจะช่วยให้เราป้องกันตัวเองไม่ให้มีโลหะ หนักในร่างกายมากเกินไป โดยการปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิต หรือกำจัดโลหะหนักเหล่านั้นออกด้วยวิธีทางการแพทย์ เพื่อให้ร่างกายกลับมาสะอาดปราศจากสารพิษ
รายการตรวจ
ตรวจสารพิษและโลหะหนักในร่างกาย
1.Lead
2.Mercury
3.Cadmium
4.Manganese
5.Chromium
6.Cobalt
7.Nickel
8.Arsenic
9.Aluminum



เพราะการแพ้อาหารแบบแฝง (Food Intolerance) นั้นแตกต่างไปจากการแพ้อาหารแบบเฉียบพลัน (Food Allergy) ที่จะแสดงอาการให้เห็นทันทีหลังสัมผัสสารก่อภูมิแพ้ แต่การแพ้อาหารแบบแฝงจะเกิดขึ้นหลังจากการรับประทานอาหารชนิดเดิมอย่างซ้ำๆ จนระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายเข้าใจว่าอาหารนั้นเป็นสิ่งแปลกปลอม อาการจะแสดงแตกต่างกันออกไปในแต่ละบุคคล และไม่แสดงอาการในทันที มักจะเกิดหลังรับประทานอาหารที่แพ้แล้วหลายวัน ทำให้สังเกตได้ยาก และทำให้ไม่สามารถระบุชนิดอาหารที่แพ้ได้ อาการที่เกิดขึ้นนั้นจะมีความหลากหลาย เรื้อรังแต่ไม่รุนแรง เช่น ปวดศีรษะเรื้อรัง ไมเกรน ภาวะสมาธิสั้น คัดจมูก น้ำมูกไหลเรื้อรัง ผื่นลมพิษเรื้อรังไม่ทราบสาเหตุ ท้องเสีย ลำไส้ระคายเคือง ลำไส้อักเสบ ท้องผูก จุกเสียดแน่นท้อง น้ำหนักขึ้นง่าย ปวดกล้ามเนื้อ

หากเรายังรับประทานอาหารตัวที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยานี้สะสมต่อเนื่องก็อาจก่อให้เกิดปัญหาเรื้อรัง ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ หรือแม้แต่เกิดการรบกวนระบบประสาทและความจำ เช่น ในภาวะสมาธิสั้น ไมเกรน เป็นต้น
การแพ้อาหารแบบแอบแฝง (IgG) ส่งผลเสียต่อสุขภาพอย่างไรบ้าง

-ปวดศีรษะเรื้อรัง ไมเกรน
-ภาวะสมาธิสั้น
-คัดจมูก น้ำมูกไหล เรื้อรัง
-ผื่นลมพิษเรื้อรังไม่ทราบสาเหตุ
-สิวเรื้อรัง
-ท้องเสีย ลำไส้ระคายเคือง (IBS) ลำไส้อักเสบ (Crohn’s disease)
-ท้องผูก จุกเสียดแน่นท้อง
-น้ำหนักขึ้นง่าย
-ปวดกล้ามเนื้อ
-โรคแพ้ภูมิตนเอง (SLE) โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์


Food Intolerance เป็นโปรแกรมที่เข้าไปคัดกรองการแพ้ดังกล่าว ผ่านการตรวจปฏิกิริยาของร่างกายด้วย Immunoglobulin G4 ต่ออาหาร พร้อมกับการให้คำแนะนำในการปฏิบัติตนสำหรับการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมและการรับประทานอาหารทดแทน



ตรวจมะเร็งทั่วไป

การตรวจคัดกรองโรคมะเร็ง ถือเป็นหนึ่งในวิธีป้องกันโรคมะเร็งได้ดีอีกวิธีหนึ่ง โดยจะเป็นการตรวจค้นหาสาเหตุของโรคมะเร็งในแต่ละส่วน
แยกสำหรับผู้ชาย หรือผู้หญิงได้อย่างละเอียด สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่ระยะแรกเริ่มของโรคแม้ยังไม่มีอาการแสดงให้เห็น
การตรวจคัดกรองมีวัตถุประสงค์คือการเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา เพิ่มโอกาสรักษา ลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็ง
รายละเอียด
ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?
– ตรวจคัดกรองมะเร็งชาย ด้วยวิธีตรวจเลือดหาสารบ่งชี้มะเร็ง (Tumor Marker) แพคเกจใหญ่ รวมค่าแพทย์ทำหัตถการและค่าบริการ (ไม่รวมค่าแพทย์ที่ปรึกษาเพิ่มเติม) มีรายการตรวจดังนี้
1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
2. วัดความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
3. ตรวจการทำงานของตับ 7 รายการ คือ Total Protein, Albumin, Total Bilirubin, Direct Bilirubin, SGOT(AST), SGPT(ALT) และ Alk Phosphatase
4. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
5. ตรวจปัสสาวะ
6. ตรวจอุจจาระ
7. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ
8. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร
9. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก
10. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน
11. เอกซเรย์ปอด
12. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้อง

– ตรวจคัดกรองมะเร็งหญิง ด้วยวิธีตรวจเลือดหาสารบ่งชี้มะเร็ง (Tumor Marker) แพคเกจใหญ่ รวมค่าแพทย์ทำหัตถการและค่าบริการ (ไม่รวมค่าแพทย์ที่ปรึกษาเพิ่มเติม) มีรายการตรวจดังนี้
1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
2. วัดความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
3. ตรวจการทำงานของตับตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
4. ตรวจปัสสาวะ
5. ตรวจอุจจาระ
6. ตรวจการทำงานของตับ 7 รายการ คือ Total Protein, Albumin, Total Bilirubin, Direct Bilirubin, SGOT(AST), SGPT(ALT) และ Alk Phosphatase
7. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร
8. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ
9. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน
10. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่
11. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งเต้านม
12. ตรวจมะเร็งปากมดลูกและเชื้อ HPV
13. เอกซเรย์ปอด
14. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้อง
15. เอกซเรย์เต้านม

หมายเหตุ
-ค่าแพทย์ที่ปรึกษาเพิ่มเติมเริ่มต้นที่ 500 -1000 บาท
-กรุณางดอาหาร และน้ำ (ดื่มน้ำเปล่าได้)ก่อนเข้ารับการตรวจอย่างน้อย 8-12 ชั่วโมง
-ต้องทำการนัดหมายเพื่อเข้าพบแพทย์ก่อนเข้ารับการตรวจ


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

การตรวจคัดกรองโรคมะเร็ง ถือเป็นหนึ่งในวิธีป้องกันโรคมะเร็งได้ดีอีกวิธีหนึ่ง โดยจะเป็นการตรวจค้นหาสาเหตุของโรคมะเร็งในแต่ละส่วน
แยกสำหรับผู้ชาย หรือผู้หญิงได้อย่างละเอียด สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่ระยะแรกเริ่มของโรคแม้ยังไม่มีอาการแสดงให้เห็น
การตรวจคัดกรองมีวัตถุประสงค์คือการเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา เพิ่มโอกาสรักษา ลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็ง
รายละเอียด
ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?
– ตรวจคัดกรองมะเร็งชาย ด้วยวิธีตรวจเลือดหาสารบ่งชี้มะเร็ง (Tumor Marker) แพคเกจใหญ่ รวมค่าแพทย์ทำหัตถการและค่าบริการ (ไม่รวมค่าแพทย์ที่ปรึกษาเพิ่มเติม) มีรายการตรวจดังนี้
1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
2. วัดความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
3. ตรวจการทำงานของตับ 7 รายการ คือ Total Protein, Albumin, Total Bilirubin, Direct Bilirubin, SGOT(AST), SGPT(ALT) และ Alk Phosphatase
4. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
5. ตรวจปัสสาวะ
6. ตรวจอุจจาระ
7. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ
8. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร
9. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก
10. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน
11. เอกซเรย์ปอด
12. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้อง

– ตรวจคัดกรองมะเร็งหญิง ด้วยวิธีตรวจเลือดหาสารบ่งชี้มะเร็ง (Tumor Marker) แพคเกจใหญ่ รวมค่าแพทย์ทำหัตถการและค่าบริการ (ไม่รวมค่าแพทย์ที่ปรึกษาเพิ่มเติม) มีรายการตรวจดังนี้
1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
2. วัดความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
3. ตรวจการทำงานของตับตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
4. ตรวจปัสสาวะ
5. ตรวจอุจจาระ
6. ตรวจการทำงานของตับ 7 รายการ คือ Total Protein, Albumin, Total Bilirubin, Direct Bilirubin, SGOT(AST), SGPT(ALT) และ Alk Phosphatase
7. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร
8. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ
9. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน
10. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่
11. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งเต้านม
12. ตรวจมะเร็งปากมดลูกและเชื้อ HPV
13. เอกซเรย์ปอด
14. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้อง
15. เอกซเรย์เต้านม

หมายเหตุ
-ค่าแพทย์ที่ปรึกษาเพิ่มเติมเริ่มต้นที่ 500 -1000 บาท
-กรุณางดอาหาร และน้ำ (ดื่มน้ำเปล่าได้)ก่อนเข้ารับการตรวจอย่างน้อย 8-12 ชั่วโมง
-ต้องทำการนัดหมายเพื่อเข้าพบแพทย์ก่อนเข้ารับการตรวจ


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

การตรวจคัดกรองโรคมะเร็ง ถือเป็นหนึ่งในวิธีป้องกันโรคมะเร็งได้ดีอีกวิธีหนึ่ง โดยจะเป็นการตรวจค้นหาสาเหตุของโรคมะเร็งในแต่ละส่วน
แยกสำหรับผู้ชาย หรือผู้หญิงได้อย่างละเอียด สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่ระยะแรกเริ่มของโรคแม้ยังไม่มีอาการแสดงให้เห็น
การตรวจคัดกรองมีวัตถุประสงค์คือการเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา เพิ่มโอกาสรักษา ลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็ง
ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?
- ตรวจคัดกรองมะเร็งชาย ด้วยวิธีตรวจเลือดหาสารบ่งชี้มะเร็ง (Tumor Marker) แพคเกจเล็ก รวมค่าแพทย์ทำหัตถการและค่าบริการ (ไม่รวมค่าแพทย์ที่ปรึกษาเพิ่มเติม) มีรายการตรวจดังนี้
1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
2. วัดความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
3. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
4. ตรวจปัสสาวะ
5. ตรวจอุจจาระ
6. ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก
7. เอกซเรย์ปอด
8. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้อง

หมายเหตุ
- เพิ่มเติม: ค่าแพทย์ที่ปรึกษาเริ่มต้นที่ 500 -1000 บาท
-กรณางดอาหาร และน้ำ (ดื่มน้ำเปล่าได้)ก่อนเข้ารับการตรวจอย่างน้อย 8-12 ชั่วโมง
-กรุณาทำนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับการตรวจทุกครั้งได้ที่ 1772 หรือศูนย์มะเร็ง โรงพยาบาลพญาไท 2 ชั้น 7 อาคาร A โทร. 02-617-2444 ต่อ 8091, 4732,4733


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

การตรวจคัดกรองโรคมะเร็ง ถือเป็นหนึ่งในวิธีป้องกันโรคมะเร็งได้ดีอีกวิธีหนึ่ง โดยจะเป็นการตรวจค้นหาสาเหตุของโรคมะเร็งในแต่ละส่วน
แยกสำหรับผู้ชาย หรือผู้หญิงได้อย่างละเอียด สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่ระยะแรกเริ่มของโรคแม้ยังไม่มีอาการแสดงให้เห็น
การตรวจคัดกรองมีวัตถุประสงค์คือการเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา เพิ่มโอกาสรักษา ลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็ง
ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

– ตรวจคัดกรองมะเร็งหญิง ด้วยวิธีตรวจเลือดหาสารบ่งชี้มะเร็ง (Tumor Marker) แพคเกจเล็ก รวมค่าแพทย์ทำหัตถการและค่าบริการ (ไม่รวมค่าแพทย์ที่ปรึกษาเพิ่มเติม) มีรายการตรวจดังนี้
1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
2. วัดความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
3. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
4. ตรวจปัสสาวะ
5. ตรวจอุจจาระ
6. ตรวจมะเร็งปากมดลูก
7. เอกซเรย์ปอด
8. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้อง
9.ตรวจมะเร็งเต้านม

หมายเหตุ
-ค่าแพทย์ที่ปรึกษาเพิ่มเติมเริ่มต้นที่ 500 -1000 บาท
-กรุณางดอาหาร และน้ำ (ดื่มน้ำเปล่าได้)ก่อนเข้ารับการตรวจอย่างน้อย 8-12 ชั่วโมง
-กรุณาทำนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับการตรวจทุกครั้งได้ที่ 1772 หรือศูนย์มะเร็ง โรงพยาบาลพญาไท 2 ชั้น 7 อาคาร A โทร. 02-617-2444 ต่อ 8091, 4732,4733


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

– โปรแกรม BRACA Test (ตรวจยีนมะเร็งและรังไข่) รวมค่าบริการพยาบาล และค่าบริการโรงพยาบาล (ไม่รวมค่าแพทย์ที่ปรึกษา และค่าแพทย์อ่านผลเพิ่มเติม) มีรายการตรวจดังนี้
1.ซักประวัติโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
2.ตรวจยีน BRACA Test (ตรวจยีนมะเร็งและรังไข่)
3.ค่าบริการทางการแพทย์ ผู้ป่วยนอก
4.ค่าบริการพยาบาลผู้ป่วยนอก
ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?
– โปรแกรม BRACA Test (ตรวจยีนมะเร็งและรังไข่) รวมค่าบริการพยาบาล และค่าบริการโรงพยาบาล (ไม่รวมค่าแพทย์ที่ปรึกษา และค่าแพทย์อ่านผลเพิ่มเติม) มีรายการตรวจดังนี้
1.ซักประวัติโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
2.ตรวจยีน BRACA Test (ตรวจยีนมะเร็งและรังไข่)
3.ค่าบริการทางการแพทย์ ผู้ป่วยนอก
4.ค่าบริการพยาบาลผู้ป่วยนอก

หมายเหตุ
-ค่าแพทย์ที่ปรึกษาเพิ่มเติมเริ่มต้นที่ 500 -1000 บาท
-กรุณางดอาหาร และน้ำ (ดื่มน้ำเปล่าได้)ก่อนเข้ารับการตรวจอย่างน้อย 8-12 ชั่วโมง
-กรุณาทำนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับการตรวจทุกครั้งได้ที่ 1772 หรือศูนย์มะเร็ง โรงพยาบาลพญาไท 2 ชั้น 7 อาคาร A โทร. 02-617-2444 ต่อ 8091, 4732,4733


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

อาการแบบไหนควรอัลตราซาวด์
– ปวดท้องน้อย
– ประจำเดือนมาผิดปกติ
– ตกขาวผิดปกติ
– คลำเจอก้อน หรือพบความผิดปกติบริเวณท้องน้อย

เตรียมตัวอย่างไร ก่อนการตรวจอัลตราซาวด์ช่องคลอด
1. ไม่ควรดื่มน้ำปริมาณมากๆ และควรปัสสาวะออกให้หมดก่อนการตรวจ
2. งดเข้ารับการตรวจขณะที่มีประจำเดือน เนื่องจากอาจประมวลผลได้ไม่ชัดเจน โดยช่วงที่เหมาะสมในการตรวจ คือ หลังประจำเดือนหมด 5 – 7 วัน
รายการตรวจ
1. ตรวจมะเร็งปากมดลูก ThinPrep
2. ตรวจอัลตร้าซาวน์ช่องคลอดโดยสูตินรีแพทย์
3. ซักประวัติและตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยสูตินรีแพทย์
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

เนื่องจากเชื้อ HPV นั้นมีมากกว่า 100 สายพันธ์ุ โดยแบ่งเป็นสายพันธ์ุที่เพิ่มโอกาสการเกิดมะเร็ง (Hight-Risk Type) และสายพันธุ์ที่ก่อให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น หูดหงอนไก่ ซึ่งเป็นสายพันธ์ุที่มีความเสี่ยงต่ำในการก่อมะเร็ง (Low-Risk Type) ดังนั้น นอกจากการตรวจภายในควบคู่การเก็บตัวอย่างเซลล์บริเวณปากมดลูก หรือที่เรียกว่าตรวจ Thin Prep แล้ว การตรวจค้นหาเชื้อไวรัส HPV สายพันธ์ุกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการก่อมะเร็งมากถึง 15 สายพันธุ์ ร่วมด้วย จึงไม่เพียงช่วยให้การตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกมีประสิทธิภาพและแม่นยำมากขึ้น แต่ยังสามารถตรวจคัดกรองความเสี่ยงได้ครอบคลุม ทั้งมะเร็งช่องคลอด มะเร็งทวารหนัก และมะเร็งช่องปาก

แพ็กเกจนี้เหมาะสมกับใคร
1.ผู้หญิงที่มีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย
2.ผู้หญิงที่มีคู่นอนหลายคน หรือมีเพศสัมพันธ์กับชายที่มีคู่นอนหลายคน
3.ผู้หญิงที่รับประทานยาคุมกำเนินติดต่อกันเป็นเวลานาน โดนเฉพาะหากมากกว่า 5 ปี เพราะมีความเสี่ยงสูง
4.ผู้หญิงที่เคยตั้งครรภ์และคลอดลูกมากกว่า 4 ครั้ง
5.ผู้หญิงที่มีประวัติการเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส หนองใน เริม เป็นต้น
6.ผู้หญิงที่มีพฤติกรรมสูบบุหรี่
7.ผู้หญิงที่ขาดการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
รายการตรวจ
- ตรวจภายในโดยสูตินรีแพทย์
- ตรวจมะเร็งปากมดลูก
- ตรวจหาเชื้อ HPV สายพันธ์ก่อมะเร็ง 2 สายพันธ์ุ (HPV DNA Testing)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

เนื่องจากเชื้อ HPV นั้นมีมากกว่า 100 สายพันธ์ุ โดยแบ่งเป็นสายพันธ์ุที่เพิ่มโอกาสการเกิดมะเร็ง (Hight-Risk Type) และสายพันธุ์ที่ก่อให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น หูดหงอนไก่ ซึ่งเป็นสายพันธ์ุที่มีความเสี่ยงต่ำในการก่อมะเร็ง (Low-Risk Type) ดังนั้น นอกจากการตรวจภายในควบคู่การเก็บตัวอย่างเซลล์บริเวณปากมดลูก หรือที่เรียกว่าตรวจ Thin Prep แล้ว การตรวจค้นหาเชื้อไวรัส HPV สายพันธ์ุกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการก่อมะเร็งมากถึง 15 สายพันธุ์ ร่วมด้วย จึงไม่เพียงช่วยให้การตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกมีประสิทธิภาพและแม่นยำมากขึ้น แต่ยังสามารถตรวจคัดกรองความเสี่ยงได้ครอบคลุม ทั้งมะเร็งช่องคลอด มะเร็งทวารหนัก และมะเร็งช่องปาก

แพ็กเกจนี้เหมาะสมกับใคร
1.ผู้หญิงที่มีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย
2.ผู้หญิงที่มีคู่นอนหลายคน หรือมีเพศสัมพันธ์กับชายที่มีคู่นอนหลายคน
3.ผู้หญิงที่รับประทานยาคุมกำเนินติดต่อกันเป็นเวลานาน โดนเฉพาะหากมากกว่า 5 ปี เพราะมีความเสี่ยงสูง
4.ผู้หญิงที่เคยตั้งครรภ์และคลอดลูกมากกว่า 4 ครั้ง
5.ผู้หญิงที่มีประวัติการเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส หนองใน เริม เป็นต้น
6.ผู้หญิงที่มีพฤติกรรมสูบบุหรี่
7.ผู้หญิงที่ขาดการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
รายการตรวจ
- ตรวจภายในโดยสูตินรีแพทย์
- ตรวจมะเร็งปากมดลูก
- ตรวจหาเชื้อ HPV สายพันธ์ก่อมะเร็ง 2 สายพันธ์ุ (HPV DNA Testing)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

เนื่องจากเชื้อ HPV นั้นมีมากกว่า 100 สายพันธ์ุ โดยแบ่งเป็นสายพันธ์ุที่เพิ่มโอกาสการเกิดมะเร็ง (Hight-Risk Type) และสายพันธุ์ที่ก่อให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น หูดหงอนไก่ ซึ่งเป็นสายพันธ์ุที่มีความเสี่ยงต่ำในการก่อมะเร็ง (Low-Risk Type) ดังนั้น นอกจากการตรวจภายในควบคู่การเก็บตัวอย่างเซลล์บริเวณปากมดลูก หรือที่เรียกว่าตรวจ Thin Prep แล้ว การตรวจค้นหาเชื้อไวรัส HPV สายพันธ์ุกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการก่อมะเร็งมากถึง 15 สายพันธุ์ ร่วมด้วย จึงไม่เพียงช่วยให้การตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกมีประสิทธิภาพและแม่นยำมากขึ้น แต่ยังสามารถตรวจคัดกรองความเสี่ยงได้ครอบคลุม ทั้งมะเร็งช่องคลอด มะเร็งทวารหนัก และมะเร็งช่องปาก

แพ็กเกจนี้เหมาะสมกับใคร
1.ผู้หญิงที่มีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย
2.ผู้หญิงที่มีคู่นอนหลายคน หรือมีเพศสัมพันธ์กับชายที่มีคู่นอนหลายคน
3.ผู้หญิงที่รับประทานยาคุมกำเนินติดต่อกันเป็นเวลานาน โดนเฉพาะหากมากกว่า 5 ปี เพราะมีความเสี่ยงสูง
4.ผู้หญิงที่เคยตั้งครรภ์และคลอดลูกมากกว่า 4 ครั้ง
5.ผู้หญิงที่มีประวัติการเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส หนองใน เริม เป็นต้น
6.ผู้หญิงที่มีพฤติกรรมสูบบุหรี่
7.ผู้หญิงที่ขาดการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
รายการตรวจ
- ตรวจภายในโดยสูตินรีแพทย์
- ตรวจมะเร็งปากมดลูก
- ตรวจหาเชื้อ HPV สายพันธ์ก่อมะเร็ง 2 สายพันธ์ุ (HPV DNA Testing)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

เนื่องจากเชื้อ HPV นั้นมีมากกว่า 100 สายพันธ์ุ โดยแบ่งเป็นสายพันธ์ุที่เพิ่มโอกาสการเกิดมะเร็ง (Hight-Risk Type) และสายพันธุ์ที่ก่อให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น หูดหงอนไก่ ซึ่งเป็นสายพันธ์ุที่มีความเสี่ยงต่ำในการก่อมะเร็ง (Low-Risk Type) ดังนั้น นอกจากการตรวจภายในควบคู่การเก็บตัวอย่างเซลล์บริเวณปากมดลูก หรือที่เรียกว่าตรวจ Thin Prep แล้ว การตรวจค้นหาเชื้อไวรัส HPV สายพันธ์ุกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการก่อมะเร็งมากถึง 15 สายพันธุ์ ร่วมด้วย จึงไม่เพียงช่วยให้การตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกมีประสิทธิภาพและแม่นยำมากขึ้น แต่ยังสามารถตรวจคัดกรองความเสี่ยงได้ครอบคลุม ทั้งมะเร็งช่องคลอด มะเร็งทวารหนัก และมะเร็งช่องปาก

แพ็กเกจนี้เหมาะสมกับใคร
1.ผู้หญิงที่มีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย
2.ผู้หญิงที่มีคู่นอนหลายคน หรือมีเพศสัมพันธ์กับชายที่มีคู่นอนหลายคน
3.ผู้หญิงที่รับประทานยาคุมกำเนินติดต่อกันเป็นเวลานาน โดนเฉพาะหากมากกว่า 5 ปี เพราะมีความเสี่ยงสูง
4.ผู้หญิงที่เคยตั้งครรภ์และคลอดลูกมากกว่า 4 ครั้ง
5.ผู้หญิงที่มีประวัติการเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส หนองใน เริม เป็นต้น
6.ผู้หญิงที่มีพฤติกรรมสูบบุหรี่
7.ผู้หญิงที่ขาดการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
รายการตรวจ
- ตรวจภายในโดยสูตินรีแพทย์
- ตรวจมะเร็งปากมดลูก
- ตรวจหาเชื้อ HPV สายพันธ์ก่อมะเร็ง 2 สายพันธ์ุ (HPV DNA Testing)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

“มะเร็งเต้านม” โรคที่แค่เอ่ยถึงก็อาจทำให้ผู้หญิงรู้สึกกังวล แต่รู้หรือไม่ว่า? โรคมะเร็งเต้านมสามารถรักษาได้ เพียงแค่รู้จักดูแลเอาใจใส่ตรวจเต้านมอย่างสม่ำเสมอ เพราะมะเร็งเต้านมยิ่ง(ตรวจ)เจอเร็ว…ก็ยิ่งเพิ่มโอกาสหายขาด
รายการตรวจ
1. ตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ดิจิตอลแมโมแกรมทั้งสองข้าง
2. ซักประวัติโดยแพทย์เฉพาะทางด้านเต้านม
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

มะเร็งเต้านม (Breast cancer) เป็นมะเร็งที่พบบ่อยในผู้หญิงไทย ซึ่งพบมากที่สุดเป็นอันดับ1 โดยเราไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน และยังไม่มีวิธีป้องกัน และยังไม่มีวิธีป้องกัน แต่สามารถรู้ถึงปัจจัยเสี่ยงและการรักษา..ยังได้ผลค่อนข้างดี
รายการตรวจ
1. ตรวจมะเร็งเต้านมด้วย MRI 2 ข้าง
2. ซักประวัติโดยแพทย์เฉพาะทางด้านเต้านม
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

มะเร็งตับ เป็นอีกหนึ่งในโรคมะเร็งที่พบบ่อย สามารถทำให้เสียชีวิตได้ แต่ในขณะเดียวกันก็สามารถรักษาให้หายขาดได้หากตรวจพบเร็ว และเข้ารับการรักษาได้ทันก่อนที่อาการจะรุนแรง โดยปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคมะเร็งตับได้แก่
1. การดื่มเครื่องดื่มีท่มีแอลกอฮอล์เป็นประจำ
2. ภาวะตับแข็งจากทุกสาเหตุไม่ว่าจะจากแอลกอฮอล์ หรือไวรัสตับอักเสบ
3. การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และเชื้อไวรัสตับอักเสบซี
4. โรคทางพันธุกรรม และเมตาบอลิกต่างๆ เช่นโรคเบาหวาน ซึ่งทำให้เกิดไขมันเกาะตับ และตับแข็งตามมา
รายการตรวจ
1.Total Protein ตรวจระดับโปรตีนรวมในเลือด
2.Albumin ตรวจการทำงานของตับ
3.Total Bilirubin ตรวจการทำงานของตับ
4.Direct Bilirubin ตรวจการทำงานของตับ
5.SGOT (AST) ตรวจการทำงานของตับ
6.SGPT (ALT) ตรวจการทำงานของตับ
7.Alk Phosphatase ตรวจการทำงานของตับ
8.GGT (Gamma GT)ตรวจการทำงานของตับ
9.HBsAg การตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบ ชนิดบี
10.Anti ABs (HBsAb) ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบ ชนิดบี
11.Anti ABc (HBcAb) ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบ ชนิดซี
12.Anti HAV IgG (HAVAb) ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบ ชนิดเอ
13.Anti HCV (HCVAb) ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบซี
14.AFP (Alpha fetoprotein) สารบ่งชี้มะเร็งตับ
15.Fibroscan การวัดความแข็งของตับ
16.US. Upper Abdomen ตรวจอวัยวะในช่องท้องส่วนบน
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

มะเร็งตับ เป็นอีกหนึ่งในโรคมะเร็งที่พบบ่อย สามารถทำให้เสียชีวิตได้ แต่ในขณะเดียวกันก็สามารถรักษาให้หายขาดได้หากตรวจพบเร็ว และเข้ารับการรักษาได้ทันก่อนที่อาการจะรุนแรง โดยปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคมะเร็งตับได้แก่
1. การดื่มเครื่องดื่มีท่มีแอลกอฮอล์เป็นประจำ
2. ภาวะตับแข็งจากทุกสาเหตุไม่ว่าจะจากแอลกอฮอล์ หรือไวรัสตับอักเสบ
3. การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และเชื้อไวรัสตับอักเสบซี
4. โรคทางพันธุกรรม และเมตาบอลิกต่างๆ เช่นโรคเบาหวาน ซึ่งทำให้เกิดไขมันเกาะตับ และตับแข็งตามมา
รายการตรวจ
1.SGOT (AST) ตรวจการทำงานของตับ
2.SGPT (ALT) ตรวจการทำงานของตับ
3.Alk Phosphatase ตรวจการทำงานของตับ
4.HBsAg การตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบ ชนิดบี
5.Anti ABs (HBsAb) ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบ ชนิดบี
6.Anti ABc (HBcAb) ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบ ชนิดซี
7.Anti HAV IgG (HAVAb) ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบ ชนิดเอ
8.Anti HCV (HCVAb) ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบซี
9.AFP (Alpha fetoprotein) สารบ่งชี้มะเร็งตับ
10.Fibroscan การวัดความแข็งของตับ
11.US. Upper Abdomen ตรวจอวัยวะในช่องท้องส่วนบน
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

วัคซีนไข้หวัดใหญ่

- อายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป และผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป
- ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค ได้แก่ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ
- หลอดเลือดสมอง ไตวาย เบาหวาน และผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด
- ผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย และผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง รวมถึงผู้ที่ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ
- ผู้เป็นโรคอ้วน (น้ำหนักตัวมากกว่า 100 กก. หรือ BMI > 35 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
- ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ไม่ต้องงดอาหารและน้ำ และควรได้รับการฉีดวัคซีนปีละ 1 ครั้ง
รายการ
- วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ 4 สายพันธุ์ 1 เข็ม
- ค่าแพทย์
- ค่าบริการพยาบาล และค่าบริการรพ.

เงื่อนไขการรับบริการ
- ราคาดังกล่าวรวมค่าแพทย์และค่าบริการรพ.
- โปรแกรมนี้เหมาะสำหรับผู้ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป
- รับบริการได้ที่คลินิกวัคซีน (ศูนย์อายุรกรรม) โรงพยาบาลพญาไท2 ชั้น5 อาคารA
- เปิดให้บริการทุกวัน วันจันทร์-วันอาทิตย์ เวลา 8.00-20.00น.
- ใช้บริการได้ตั้งแต่วันนี้ - 31 ธันวาคม 2566
- ทำนัดก่อนเข้ารับบริการได้ที่ CALL CENTER 1772 หรือ PHYATHAI INTOUCH APPLICATION
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

วัคซีนไข้หวัดใหญ่สำหรับผู้สูงวัย 65 ปีขึ้นไป (High dose influenza vaccine)
- มีปริมาณแอนติเจนเพิ่มขึ้นถึง 4 เท่า และ ป้องกันการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ เพิ่มขึ้น 24.2% เมื่อเทียบกับการรับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ขนาดปกติ (Standard dose)

วัคซีนช่วยลดความเสี่ยงการนอนโรงพยาบาลจาก
1.การเกิดปอดอักเสบเพิ่มขึ้นสูงถึง 27.3%
2.โรคหัวใจและระบบหายใจเพิ่มขึ้น อีก 17.9%
3.ไข้หวัดใหญ่เพิ่มขึ้นอีก 11.7%
4.สาเหตุทั้งหมดที่เกี่ยวกับการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ ได้เพิ่มขึ้น อีก 8.4%

รายการตรวจหรือตารางรายการตรวจ
1.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ High Dose (สำหรับผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป) 1 เข็ม
2.ค่าแพทย์
3.ค่าบริการรพ. และค่าบริการพยาบาล
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ตรวจหัวใจและหลอดเลือด

เป็นการตรวจการทำงานของหัวใจ การบีบตัว และลักษณะทางกายภาพของหัวใจ ทำให้สามารถทราบได้ว่าป่วยเป็นโรคหัวใจหรือไม่

ทั้งนี้การใช้คลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงจะช่วยเพิ่มความแม่นยำและถูกต้องใน การวินิจฉัยเมื่อเทียบกับการเดินสายพานธรรมดา
การตรวจด้วยวิธีนี้ถือว่ามีความปลอดภัยสูง ไม่จำเป็นต้องเตรียมตัวล่วงหน้า ไม่ต้องงดน้ำ งดอาหาร แต่ในกรณีที่มียารับประทาน จำเป็นต้องแจ้งแพทย์ หรือพยาบาลให้ทราบล่วงหน้า เนื่องจากอาจมีผลต่อผลการตรวจ และการทำงานของหัวใจ ก่อนตรวจเจ้าหน้าที่จะให้เปลี่ยนเสื้อ หากเป็นผู้หญิงต้องถอดเสื้อชั้นในออกก่อน โดยเจ้าหน้าที่จะทำการติดอุปกรณ์ เพื่อเฝ้าสังเกตคลื่นไฟฟ้าหัวใจ การตรวจวิธีนี้เป็นการตรวจเฉพาะทาง ที่ต้องอยู่ในความดูแลของแพทย์เฉพาะทางโรคหัวใจ โดยใช้ระยะเวลาในการตรวจประมาณ 30 – 45 นาที มักไม่เกิน 1 ชั่วโมง สามารถตรวจซ้ำได้บ่อยตามดุลพินิจของแพทย์ ในวันเดียวอาจตรวจซ้ำหลายๆ ครั้งก็ได้ โดยไม่ส่งผลข้างเคียง
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้ไม่รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาล

ตรวจสุขภาพทั่วไป

รายการตรวจ
ตรวจร่างกายโดยแพทย์  (Physical Examination)  2 ครั้ง/สิทธิ์
วัดความดันโลหิต ชีพจร ชั่งนํ้าหนัก วัดส่วนสูง  (Vital signs)
เอกซเรย์ปอด  (Chest X-ray)              
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ  (Electrocardiography (EKG) )   
ตรวจปัสสาวะ  (Urine Examination (UA))
ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)            
ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด  (FBS)       
ตรวจติดตามควบคุมเบาหวาน  (HbA1c)           
ตรวจการทำงานของไต  (Creatinine)
ตรวจการทำงานของไต  (BUN)          
ตรวจการทำงานของตับ  (SGPT)        
ตรวจการทำงานของตับ  (SGOT)       
ตรวจการทำงานของตับ  (Alkaline Phos).        
ตรวจระดับไขมันในเลือด (Cholesterol)           
ตรวจระดับไขมันในเลือด  (Triglyceride)          
ตรวจระดับไขมันในเลือด  (HDL)
ตรวจระดับไขมันในเลือด  (LDL)          
ตรวจหากรดยูริคในเลือด  (Uric Acid)
ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์  (TSHX
ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์  (FT3) 
ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์  (FT4)

ADVANCE เลือกได้ 5 หมวด จาก 11 หมวด                                       
1. Advance checkup ตรวจระบบประสาทและสมอง                                            
1. ตรวจอัลตร้าซาวด์หลอดเลือดแดงที่คอ  Ultrasound Doppler Carotid   (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
2. Advance checkup ตรวจเฉพาะทางหัวใจ   เลือก 1 ใน 3   
1. ตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย EST  (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
2. ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง ECHO (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
3. ตรวจหาภาวะหลอดเลือดแข็งตัวและอุดตัน ABI  (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)                                                                
3. Advance checkup ตรวจคัดกรองมะเร็ง  เลือก 3 ใน 8
1. ตรวจมะเร็งปากมดลูก ThinPrep  (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
2. ตรวจหามะเร็งเต้านมด้วยเครื่องดิจิตอลแมมโมแกรม พร้อมอัลตร้าซาวน์เต้านม Digital Mammogram with US Breast   (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
3. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก PSA (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
4. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ AFP (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)      
5. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน  CA 19-9 (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
6. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งลำไส้  CEA (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
7. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งเต้านม CA 15-3  (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
8. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่  CA 125 (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)                                                      
4. Advance checkup ตรวจคัดกรองไทรอยด์                      
1. ตรวจอัลตร้าซาวด์ไทรอยด์   Ultrasound Thyroid (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)                                                                
5. Advance checkup ตรวจคัดกรองในช่องท้อง/ทวารหนักด้วยเครื่องอัลตร้าซาวด์  เลือก 2 ใน 4                   
1.  ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องส่วนบน  US Upper Abdomen  (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
2. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องส่วนล่างผ่านทางหน้าท้อง  US Lower  Abdomen   (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
3. ตรวจอัลตร้าซาวด์มดลูกและรังไข่ผ่านทางช่องคลอด Tranvaginal  Ultrasound   (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
4. ตรวจอัลตร้าซาวด์ต่อมลูกหมากผ่านทางทวารหนัก   Trans-rectal  Ultrasound of the Prostate  (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)                           
6. Advance checkup ตรวจคัดกรองระบบทางเดินอาหาร และตับ  เลือก 4 ใน 6
1. ตรวจหาเชื้อและภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบบี  HBs Ag+Anti HBs  (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
2. ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบซี  Anti-HCV  (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
3. ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบเอ Anti-HAV (IgM+IgG)  (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
4. ตรวจอุจจาระ เพื่อดูไข่พยาธิและภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร  Stool Examination+Occult Blood (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
5. ตรวจโปรตีนโกลบูลิน เพื่อช่วยวินิจฉัยโรคเกี่ยวกับตับ ภาวะติดเชื้อต่างๆ  โรคมะเร็งบางชนิด Total Protein+Albumin+Globulin  (จำนวน 2 ครั้ง/ปี)
6. ตรวจความยืดหยุ่นของตับ  FibroScan (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)                                                                
7. Advance checkup ตรวจกระดูกและข้อ   เลือก 1 ใน 2
1. ตรวจความหนาแน่นของกระดูกสันหลังและกระดูกสะโพก BMD Lumbar Spine and Hip   (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
2. ตรวจประเมินความผิดปกติของโครงสร้างกระดูกสะโพกถึงข้อเท้า  Knee Scanogram+Knee X-ray (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
8. Advance checkup ตรวจเฉพาะทาง CT Scan**   เลือก 1 ใน 3
1. ตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ดูความผิดปกติของสมอง  CT Sinus  (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
2. ตรวจเอกซเรย์คอมพิิวเตอร์บริเวณทรวงอก CT screening lung (Low dose) (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
3. ตรวจปริมาณหินปูนหลอดเลือดหัวใจ ด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์CT - Calcium scoring  (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
**ไม่รวมค่าสารทึบรังสี                                                                  
9. Advance checkup ตรวจ Anti aging  เลือก 3 ใน 6                           
1. ตรวจฮอร์โมนเพศชาย Testosterone  (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
2. ตรวจฮอร์โมนเพศหญิงโปรเจสเตอโรน Progesterone (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
3. ตรวจฮอร์โมนต้านความเครียด DHEAs  (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
4. ตรวจระดับกรดอะมิโน สาเหตุเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ Homocysteine  (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
5. ตรวจระดับวิตามินดี  Vitamin D Level   (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
6. ตรวจระดับวิตามินบี 12 B12 Level   (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)                                                                                        
10. Advance Treatment การให้วิตามินทางหลอดเลือด เลือก 1 รายการ  
1. การให้วิตามินทางหลอดเลือด Beauty & Relax+G6PD  (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
2. การให้วิตามินทางหลอดเลือด  Brain Booster+G6PG  (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
11. Advance checkup ประเมินภาวะสุขภาพใจ Mental Health Check                       
1. ตรวจประเมินภาวะสุขภาพใจ Mental Health Check Up  (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
2. ให้คำแนะนำด้านสุขภาพใจโดยจิตแพทย์ 30 นาที Psychiatric Examination (30 Min) (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)

เงื่อนไขการเข้ารับบริการ
1.  กรณีซื้อโปรแกรมดังกล่าวผ่านช่องทางออนไลน์ (Online) ผู้รับบริการจะได้รับใบเสร็จรับเงิน ณ วันที่เข้ารับการตรวจสุขภาพ ที่โรงพยาบาลพญาไท 2 แล้วเท่านั้น  และใบเสร็จรับเงินจะออกในนามของลูกค้าที่เข้ารับการตรวจสุขภาพไม่ได้ออกในนามผู้ที่ซื้โปรแกรม                                               
2.  ระยะเวลาและการเข้าใช้บริการ                                           
- จำหน่ายตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567 - วันที่ 31 ธันวาคม 2568                
- ใช้บริการตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน  2567 - วันที่ 31 ธันวาคม 2568                              
- หมวดรายการตรวจในกลุ่ม  Advance Check Up สามารถเข้ารับบริการได้ภายหลังจากเข้ารับการตรวจ  Basic Check Up แล้วเท่านั้น                     
- สามารถใช้บริการ ภายใน  365 วัน หรือ 1 ปี ตามจำนวนครั้งที่ระบุ โดยนับจากวันที่ใช้บริการตรวจครั้งแรก                             
- กรณีที่ลูกค้าไม่เข้ารับการตรวจภายในระยะเวลาข้างต้น 31 ธันวาคม 2568 ลูกค้าสามารถเข้ารับการตรวจครั้งแรกได้ภายในไม่เกิน 28 กุมภาพันธ์ 2569 โดยสิทธิ์การตรวจซ้ำจะสิ้นสุดในวันที่ ในวันที่ 31 ธันวาคม 2569 เท่านั้น
- กรณีที่ผู้รับบริการไม่สามารถเข้ารับการตรวจตามระยะเวลาที่กำหนด รพ.ขอสงวนสิทธิ์ไม่คืนเงินในทุกกรณี               
3.  ค่าบริการการเข้าตรวจโปรแกรม                                         
-  ราคาโปรแกรมดังกล่าว  รวมค่าแพทย์และค่าบริการในการตรวจครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 เท่านั้น      
-  เพื่อให้การตรวจติดตามสุขภาพของผู้รับบริการเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ในการพบแพทย์ครั้งถัดไป รพ. ขอสงวนสิทธิ์เป็นแพทย์ท่านเดียวกับที่ท่านตรวจครั้งที่ 1 ตรวจ Basic Check Up และไม่รวมค่าแพทย์ในกรณีที่มีการรักษา สั่งยา หรือส่งต่อเพื่อรักษาศูนย์แพทย์เฉพาะทางอื่นๆ ผู้รับบริการต้องชำระค่าแพทย์และค่าบริการตรวจรักษาเพิ่มเติม
- กรณีตรวจครั้งที่ 3 เป็นต้นไป  ผู้รับบริการต้องชำระค่าแพทย์แจ้งผลการตรวจรักษา ตามอัตราดังนี้
- กรณีติดตาม  เฉพาะกลุ่ม Lab ชำระค่าแพทย์เพิ่ม 300 บาท           
- กรณีติดตาม  เฉพาะกลุ่ม X-ray และ CT Scan (1 - 2 รายการ) ชำระค่าแพทย์เพิ่ม 500 บาท                                      
- กรณีติดตาม  เฉพาะกลุ่ม Lab,  X-ray และ CT Scan ชำระค่าแพทย์เพิ่ม 800 บาท     
- กรณีติดตาม  เฉพาะกลุ่ม  Anti-aging ชำระค่าแพทย์เพิ่ม 500 บาท             
- ราคาดัังกล่าวรวมคูปองอาหารและสมุดรายงานผลในครั้งแรกที่เข้ารับการตรวจสุขภาพ               
- สำหรับผู้ที่ผ่าตัดเสริมหน้าอก  ในการเข้ารับการตรวจดิจิตอลแมมโมแกรมพร้อมอัลตร้าซาวด์เต้านม จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม                               
4.  สำหรับรายการตรวจในหมวด CT Scan กรณีแพทย์วินิจฉัยให้ทำการฉีดสารทึบรังสี  เพื่อตรวจดูความผิดปกติและต้องส่งรักษาต่อผู้เข้ารับบริการต้องชำระค่าแพทย์และค่าบริการตรวจรักษาเพิ่มเติม  (ราคาระหว่าง  8,000 - 15,000 บาท ตามมูลค่าสารทึบรังสีที่ใช้ในการตรวจ) 
5. เพื่อความสะดวกสำหรับผู้รับบริการทุกครั้งก่อนเข้ารับการตรวจสุขภาพสามารถนัดหมายล่วงหน้า ที่ Phyathai Call Center 1772  ตลอด 24  ชั่วโมง
6. กรณีลูกค้าซื้อคูปองในการเข้ารับบริการจำเป็นที่จะต้องนำคูปองมาแสดงเพื่อรับสิทธิ์การตรวจ  กรณีลูกค้าไม่นำคูปองมาในวันใช้บริการ  โรงพยาบาลขอเก็บค่าใช้จ่ายค่าตรวจสุขภาพตามราคาปกติ 
7. โรงพยาบาลขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า  

รายการตรวจ
ตรวจร่างกายโดยแพทย์ (Physical Examination) 2 ครั้ง/สิทธิ์
วัดความดันโลหิต ชีพจร ชั่งนํ้าหนัก วัดส่วนสูง (Vital signs)
เอกซเรย์ปอด (Chest X-ray)
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiography (EKG) )
ตรวจปัสสาวะ (Urine Examination (UA))
ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (FBS)
ตรวจติดตามควบคุมเบาหวาน (HbA1c)
ตรวจการทำงานของไต (Creatinine)
ตรวจการทำงานของไต (BUN)
ตรวจการทำงานของตับ (SGPT)
ตรวจการทำงานของตับ (SGOT)
ตรวจการทำงานของตับ (Alkaline Phos).
ตรวจระดับไขมันในเลือด (Cholesterol)
ตรวจระดับไขมันในเลือด (Triglyceride)
ตรวจระดับไขมันในเลือด (HDL)
ตรวจระดับไขมันในเลือด (LDL)
ตรวจหากรดยูริคในเลือด (Uric Acid)
ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ (TSHX
ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ (FT3)
ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ (FT4)

ADVANCE เลือกได้ 5 หมวด จาก 11 หมวด
1. Advance checkup ตรวจระบบประสาทและสมอง
1. ตรวจอัลตร้าซาวด์หลอดเลือดแดงที่คอ Ultrasound Doppler Carotid (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
2. Advance checkup ตรวจเฉพาะทางหัวใจ เลือก 1 ใน 3
1. ตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย EST (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
2. ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง ECHO (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
3. ตรวจหาภาวะหลอดเลือดแข็งตัวและอุดตัน ABI (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
3. Advance checkup ตรวจคัดกรองมะเร็ง เลือก 3 ใน 8
1. ตรวจมะเร็งปากมดลูก ThinPrep (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
2. ตรวจหามะเร็งเต้านมด้วยเครื่องดิจิตอลแมมโมแกรม พร้อมอัลตร้าซาวน์เต้านม Digital Mammogram with US Breast (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
3. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก PSA (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
4. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ AFP (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
5. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน CA 19-9 (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
6. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งลำไส้ CEA (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
7. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งเต้านม CA 15-3 (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
8. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่ CA 125 (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
4. Advance checkup ตรวจคัดกรองไทรอยด์
1. ตรวจอัลตร้าซาวด์ไทรอยด์ Ultrasound Thyroid (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
5. Advance checkup ตรวจคัดกรองในช่องท้อง/ทวารหนักด้วยเครื่องอัลตร้าซาวด์ เลือก 2 ใน 4
1. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องส่วนบน US Upper Abdomen (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
2. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องส่วนล่างผ่านทางหน้าท้อง US Lower Abdomen (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
3. ตรวจอัลตร้าซาวด์มดลูกและรังไข่ผ่านทางช่องคลอด Tranvaginal Ultrasound (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
4. ตรวจอัลตร้าซาวด์ต่อมลูกหมากผ่านทางทวารหนัก Trans-rectal Ultrasound of the Prostate (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
6. Advance checkup ตรวจคัดกรองระบบทางเดินอาหาร และตับ เลือก 4 ใน 6
1. ตรวจหาเชื้อและภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบบี HBs Ag+Anti HBs (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
2. ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบซี Anti-HCV (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
3. ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบเอ Anti-HAV (IgM+IgG) (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
4. ตรวจอุจจาระ เพื่อดูไข่พยาธิและภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร Stool Examination+Occult Blood (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
5. ตรวจโปรตีนโกลบูลิน เพื่อช่วยวินิจฉัยโรคเกี่ยวกับตับ ภาวะติดเชื้อต่างๆ โรคมะเร็งบางชนิด Total Protein+Albumin+Globulin (จำนวน 2 ครั้ง/ปี)
6. ตรวจความยืดหยุ่นของตับ FibroScan (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
7. Advance checkup ตรวจกระดูกและข้อ เลือก 1 ใน 2
1. ตรวจความหนาแน่นของกระดูกสันหลังและกระดูกสะโพก BMD Lumbar Spine and Hip (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
2. ตรวจประเมินความผิดปกติของโครงสร้างกระดูกสะโพกถึงข้อเท้า Knee Scanogram+Knee X-ray (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
8. Advance checkup ตรวจเฉพาะทาง CT Scan** เลือก 1 ใน 3
1. ตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ดูความผิดปกติของสมอง CT Sinus (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
2. ตรวจเอกซเรย์คอมพิิวเตอร์บริเวณทรวงอก CT screening lung (Low dose) (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
3. ตรวจปริมาณหินปูนหลอดเลือดหัวใจ ด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์CT - Calcium scoring (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
**ไม่รวมค่าสารทึบรังสี

9. Advance checkup ตรวจ Anti aging เลือก 3 ใน 6
1. ตรวจฮอร์โมนเพศชาย Testosterone (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
2. ตรวจฮอร์โมนเพศหญิงโปรเจสเตอโรน Progesterone (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
3. ตรวจฮอร์โมนต้านความเครียด DHEAs (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
4. ตรวจระดับกรดอะมิโน สาเหตุเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ Homocysteine (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง/ปี)
5. ตรวจระดับวิตามินดี Vitamin D Level (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
6. ตรวจระดับวิตามินบี 12 B12 Level (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
10. Advance Treatment การให้วิตามินทางหลอดเลือด เลือก 1 รายการ
1. การให้วิตามินทางหลอดเลือด Beauty & Relax+G6PD (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
2. การให้วิตามินทางหลอดเลือด Brain Booster+G6PG (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
11. Advance checkup ประเมินภาวะสุขภาพใจ Mental Health Check
1. ตรวจประเมินภาวะสุขภาพใจ Mental Health Check Up (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)
2. ให้คำแนะนำด้านสุขภาพใจโดยจิตแพทย์ 30 นาที Psychiatric Examination (30 Min) (จำนวน 1 ครั้ง/ปี)

 

เงื่อนไขการเข้ารับบริการ
1. กรณีซื้อโปรแกรมดังกล่าวผ่านช่องทางออนไลน์ (Online) ผู้รับบริการจะได้รับใบเสร็จรับเงิน ณ วันที่เข้ารับการตรวจสุขภาพ ที่โรงพยาบาลพญาไท 2 แล้วเท่านั้น และใบเสร็จรับเงินจะออกในนามของลูกค้าที่เข้ารับการตรวจสุขภาพไม่ได้ออกในนามผู้ที่ซื้โปรแกรม
2. ระยะเวลาและการเข้าใช้บริการ
- จำหน่ายตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567 - วันที่ 31 ธันวาคม 2568
- ใช้บริการตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567 - วันที่ 31 ธันวาคม 2568
- หมวดรายการตรวจในกลุ่ม Advance Check Up สามารถเข้ารับบริการได้ภายหลังจากเข้ารับการตรวจ Basic Check Up แล้วเท่านั้น
- สามารถใช้บริการ ภายใน 365 วัน หรือ 1 ปี ตามจำนวนครั้งที่ระบุ โดยนับจากวันที่ใช้บริการตรวจครั้งแรก
- กรณีที่ลูกค้าไม่เข้ารับการตรวจภายในระยะเวลาข้างต้น 31 ธันวาคม 2568 ลูกค้าสามารถเข้ารับการตรวจครั้งแรกได้ภายในไม่เกิน 28 กุมภาพันธ์ 2569 โดยสิทธิ์การตรวจซ้ำจะสิ้นสุดในวันที่ ในวันที่ 31 ธันวาคม 2569 เท่านั้น
- กรณีที่ผู้รับบริการไม่สามารถเข้ารับการตรวจตามระยะเวลาที่กำหนด รพ.ขอสงวนสิทธิ์ไม่คืนเงินในทุกกรณี
3. ค่าบริการการเข้าตรวจโปรแกรม
- ราคาโปรแกรมดังกล่าว รวมค่าแพทย์และค่าบริการในการตรวจครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 เท่านั้น
- เพื่อให้การตรวจติดตามสุขภาพของผู้รับบริการเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ในการพบแพทย์ครั้งถัดไป รพ. ขอสงวนสิทธิ์เป็นแพทย์ท่านเดียวกับที่ท่านตรวจครั้งที่ 1 ตรวจ Basic Check Up และไม่รวมค่าแพทย์ในกรณีที่มีการรักษา สั่งยา หรือส่งต่อเพื่อรักษาศูนย์แพทย์เฉพาะทางอื่นๆ ผู้รับบริการต้องชำระค่าแพทย์และค่าบริการตรวจรักษาเพิ่มเติม
- กรณีตรวจครั้งที่ 3 เป็นต้นไป ผู้รับบริการต้องชำระค่าแพทย์แจ้งผลการตรวจรักษา ตามอัตราดังนี้
- กรณีติดตาม เฉพาะกลุ่ม Lab ชำระค่าแพทย์เพิ่ม 300 บาท
- กรณีติดตาม เฉพาะกลุ่ม X-ray และ CT Scan (1 - 2 รายการ) ชำระค่าแพทย์เพิ่ม 500 บาท
- กรณีติดตาม เฉพาะกลุ่ม Lab, X-ray และ CT Scan ชำระค่าแพทย์เพิ่ม 800 บาท
- กรณีติดตาม เฉพาะกลุ่ม Anti-aging ชำระค่าแพทย์เพิ่ม 500 บาท
- ราคาดัังกล่าวรวมคูปองอาหารและสมุดรายงานผลในครั้งแรกที่เข้ารับการตรวจสุขภาพ
- สำหรับผู้ที่ผ่าตัดเสริมหน้าอก ในการเข้ารับการตรวจดิจิตอลแมมโมแกรมพร้อมอัลตร้าซาวด์เต้านม จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม
4. สำหรับรายการตรวจในหมวด CT Scan กรณีแพทย์วินิจฉัยให้ทำการฉีดสารทึบรังสี เพื่อตรวจดูความผิดปกติและต้องส่งรักษาต่อผู้เข้ารับบริการต้องชำระค่าแพทย์และค่าบริการตรวจรักษาเพิ่มเติม (ราคาระหว่าง 8,000 - 15,000 บาท ตามมูลค่าสารทึบรังสีที่ใช้ในการตรวจ)
5. เพื่อความสะดวกสำหรับผู้รับบริการทุกครั้งก่อนเข้ารับการตรวจสุขภาพสามารถนัดหมายล่วงหน้า ที่ Phyathai Call Center 1772 ตลอด 24 ชั่วโมง
6. กรณีลูกค้าซื้อคูปองในการเข้ารับบริการจำเป็นที่จะต้องนำคูปองมาแสดงเพื่อรับสิทธิ์การตรวจ กรณีลูกค้าไม่นำคูปองมาในวันใช้บริการ โรงพยาบาลขอเก็บค่าใช้จ่ายค่าตรวจสุขภาพตามราคาปกติ
7. โรงพยาบาลขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า

ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของภาวะโลหิตจางทั้งหมด เกิดจากการที่ร่างกายขาดธาตุเหล็กซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักในการสร้างเม็ดเลือดแดง ส่งผลให้ร่างกายสร้างเม็ดเลือดแดงได้น้อยลง ขนาดเม็ดเลือดแดงตัวเล็กลง นำออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายได้ลดลง ผู้ป่วยอาจมีอาการเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย รู้สึกเหนื่อยเวลาออกแรง วูบ หน้ามืด เวียนศีรษะ ง่วงนอนมากกว่าปกติ หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น เจ็บหน้าอก เล็บเปราะง่าย ผมร่วง ผิวแห้ง ตัวซีด เป็นต้น

อย่างไรก็ตามในผู้ป่วยบางรายร่างกายมีการปรับตัวต่อภาวะโลหิตจางทำให้ไม่รู้สึกว่ามีอาการที่ผิดปกติไป ผู้ป่วยบางรายตรวจพบภาวะโลหิตจางจากการมาตรวจสุขภาพประจำปีโดยที่ไม่มีอาการผิดปกติ
โปรแกรมตรวจความเสี่ยงภาวะโลหิตจางและธาลัสซีเมีย (Advance)
1. ตรวจร่างกายโดยแพทย์เฉพาะทาง
2. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
3. ตรวจเฟอร์ริตินในเลือด (Ferritin)
4. ตรวจภาวะพร่องธาตุเหล็ก (Serum Iron)
5. ตรวจปริมาณธาตุเหล็ก (TIBC)
6. ตรวจดูเม็ดเลือด (Reticulocyte)
7. ตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจางธาลัสซีเมีย (PCR for Alpha Thalassemia)

หมายเหตุ
- ราคาดังกล่าวรวมค่าแพทย์ และค่าบริการโรงพยาบาลเรียบร้อยแล้ว
- สามารถใช้ได้ทั้งกับคนไทย และต่างชาติ
- เพื่อความสะดวกในการรับบริการ โปรดนัดหมายล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วัน
โทร 02-201-4600 ต่อ 2377, 2381 หรือ Call center 1772


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของภาวะโลหิตจางทั้งหมด เกิดจากการที่ร่างกายขาดธาตุเหล็กซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักในการสร้างเม็ดเลือดแดง ส่งผลให้ร่างกายสร้างเม็ดเลือดแดงได้น้อยลง ขนาดเม็ดเลือดแดงตัวเล็กลง นำออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายได้ลดลง ผู้ป่วยอาจมีอาการเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย รู้สึกเหนื่อยเวลาออกแรง วูบ หน้ามืด เวียนศีรษะ ง่วงนอนมากกว่าปกติ หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น เจ็บหน้าอก เล็บเปราะง่าย ผมร่วง ผิวแห้ง ตัวซีด เป็นต้น

อย่างไรก็ตามในผู้ป่วยบางรายร่างกายมีการปรับตัวต่อภาวะโลหิตจางทำให้ไม่รู้สึกว่ามีอาการที่ผิดปกติไป ผู้ป่วยบางรายตรวจพบภาวะโลหิตจางจากการมาตรวจสุขภาพประจำปีโดยที่ไม่มีอาการผิดปกติ
โปรแกรมตรวจความเสี่ยงภาวะโลหิตจางและธาลัสซีเมีย (Basic)
1. ตรวจร่างกายโดยแพทย์เฉพาะทาง
2. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
3. ตรวจเฟอร์ริตินในเลือด (Ferritin)
4. ตรวจหาพาหะธาลัสซีเมีย (Hb typing)
5. ตรวจภาวะพร่องธาตุเหล็ก (Serum Iron)
6. ตรวจปริมาณธาตุเหล็ก (TIBC)
7. ตรวจดูเม็ดเลือด (Reticulocyte)

หมายเหตุ
- ราคาดังกล่าวรวมค่าแพทย์ และค่าบริการโรงพยาบาลเรียบร้อยแล้ว
- สามารถใช้ได้ทั้งกับคนไทย และต่างชาติ
- เพื่อความสะดวกในการรับบริการ โปรดนัดหมายล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วัน
โทร 02-201-4600 ต่อ 2377, 2381 หรือ Call center 1772


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

โรคปอดหรือโรคระบบทางเดินหายใจ ถือว่าค่อนข้างอันตราย และส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก ซึ่งโรคปอดในระยะเริ่มต้นมักจะไม่แสดงอาการ กว่าผู้ป่วยจะรู้ตัวว่าเป็นโรคปอด ก็อาการหนักและยากต่อการรักษาให้หายขาด ดังนั้น เราจึงควรตรวจคัดกรองสุขภาพปอดเป็นประจำ แม้ยังไม่มีอาการ
1. เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ปอด (CT Screening Lung Cancer Low dose)
2. พบอายุรแพทย์เฉพาะทางด้านปอด
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

เป็นภูมิแพ้ทำไมต้องทน เพราะโรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจรักษาได้ด้วยการฉีดวัคซีน
โปรแกรมนี้เหมาะกับใคร?
- ผู้ป่วยโรคเยื่อบุจมูกจากภูมิแพ้ โรคเยื่อบุตาอักเสบจากภูมิแพ้ โรคหืดจากภูมิแพ้ ผู้ป่วยโรคผิวหนังอักเสบจากภูมิแพ้
- ผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมอาการแพ้ได้ด้วยยา หรือได้รับผลข้างเคียงจากการใช้ยา
- ผู้ที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้ได้
- ผู้ที่แพ้แมลงอย่างรุนแรง


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

เป็นภูมิแพ้ทำไมต้องทน เพราะโรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจรักษาได้ด้วยการฉีดวัคซีน
โปรแกรมนี้เหมาะกับใคร?
- ผู้ป่วยโรคเยื่อบุจมูกจากภูมิแพ้ โรคเยื่อบุตาอักเสบจากภูมิแพ้ โรคหืดจากภูมิแพ้ ผู้ป่วยโรคผิวหนังอักเสบจากภูมิแพ้
- ผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมอาการแพ้ได้ด้วยยา หรือได้รับผลข้างเคียงจากการใช้ยา
- ผู้ที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้ได้
- ผู้ที่แพ้แมลงอย่างรุนแรง


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

โรคพาร์กินสัน คืออะไร?
พาร์กินสัน เป็นโรคสมองเสื่อมชนิดหนึ่ง ซึ่งพบได้บ่อยเป็นอันดับ 2 รองจากโรคอัลไซเมอร์
โรคพาร์กินสัน เป็นการเสื่อมของเซลล์สมองบริเวณแกนสมอง ซึ่งเป็นส่วนที่สร้างสารสื่อประสาทที่เรียกว่า โดปามีน (Dopamine) ซึ่งมีหน้าที่ช่วยควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย เมื่อสารเคมีในสมองเสียสมดุลไป จึงทำให้การเคลื่อนไหวผิดปกติ
รายการตรวจ
1 Glucose (Sigar, FBS) การตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด
2 BUN ตรวจการทำงานของไต
3 Creatinine (plus eGFR) ตรวจการทำงานของไต
4 Triglyceride ตรวจหาไขมันในเลือด
5 HDL - Cholesterol ตรวจหาไขมันดีในเลือด
6 LDL - Cholesterol (Direct) ตรวจหาไขมันไม่ดีในเลือด
7 CBCตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
8 SGPT (ALT) ตรวจการทำงานของตับ
9 Cholesterol ตรวจหาไขมันในเลือด
10 Alk Phosphatase ตรวจการทำงานของตับ
11 MRI for Parkinson เอกซเรย์สมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ภาวะสมองเสื่อม (Dementia) เป็นภาวะที่จำนวนเซลล์สมองที่ทำงานได้ยิ่งลดลงอย่างรวดเร็ว อันเกิดจากการฝ่อเหี่ยวล้ำหน้าไปอีก ภาวะสมองเสื่อมที่พบบ่อยได้แก่ โรคอัลไซเมอร์ ส่วนมากจะพบในผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป แต่ภาวะสมองเสื่อมตั้งแต่อายุน้อยกว่านั้นก็สามารถพบได้ มักจะมีสาเหตุมาจากโรคทางพันธุกรรม โรคหลอดเลือดสมอง โรคติดเชื้อของสมอง การได้รับสารพิษ เป็นต้น เมื่อเซลล์สมองฝ่อเหี่ยวลง จะส่งผลให้มีปัญหาในด้านความจำ ความคิด อารมณ์ และบุคลิกภาพ ที่เปลี่ยนไปจากเดิม
รายการตรวจ
- ตรวจร่างกาย ซักประวัติ อาการ ตรวจร่างกายทางระบบประสาท และการทดสอบสภาพจิตในด้าน ความจำ การเรียนรู้ การใช้ภาษา การคิดคำนวณ การรู้เวลาสถานที่ การวางแผนทางความคิด
- พบแพทย์
- เจาะเลือด
- ฟังผลโดยแพทย์
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

เป็นโปรแกรมคัดกรองโรคลมชัก เหมาะผู้ที่มีประวัติโรคลมชัก, มีอาการวูบหมดสติ, มีอาการเหม่อลอย
MRI for Epilepsy เอกซเรย์สมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคัดกรองโรคลมชัก
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

อาการแบบนี้…ควรตรวจคัดกรอง
1. อุจจาระเป็นเลือด มีเลือดปน
2. ลักษณะอุจจาระเป็นก้อนแข็งหรือลำเล็ก
3. ทวารหนักเปียกแฉะ คันรอบๆ ปากทวารหนัก
4. เจ็บหรือปวดบริเวณทวารหนัก
5. มีก้อนยื่นออกมาขณะถ่ายอุจจาระ
รายการตรวจ PROCTOSCOPE DISP.
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ปัจจัยที่ทำให้เกิดริดสีดวงทวารหนัก
ภาวะท้องผูกเรื้อรัง
ท้องเสียถ่ายอุจจาระบ่อย ๆ
อุปนิสัยเบ่งอุจจาระอย่างมากเพื่อพยายามขับอุจจาระก้อนสุดท้ายให้ออกไป
อุปนิสัยใช้เวลานั่งถ่ายอุจจาระนาน เช่น อ่านหนังสือขณะถ่ายอุจจาระ
กรณีไม่ทราบสาเหตุ..อาจพบว่าบุคคลที่มีประวัติในครอบครัวเป็นริดสีดวงทวารหนัก จึงมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าปกติ
-
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

โปรแกรมตรวจสุขภาพสำหรับคู่รักที่ต้องการ วางแผนครอบครัว เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนมีบุตร ช่วยประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนและอันตรายต่างๆ ช่วยทำให้การตั้งครรภ์สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
รายการตรวจ
1.Semen (Sperm) Analysis
2.CBC
3.Blood Group ABO
4.Blood Group Rh
5.Hb Typing
6.Anti HIV (HIVAb) (Screening)
7.RPR (Rapid Plasma Reagin)
8.HBsAg
9.Anti HCV (HCVAb)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

โปรแกรมตรวจสุขภาพสำหรับคู่รักที่ต้องการ วางแผนครอบครัว เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนมีบุตร ช่วยประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนและอันตรายต่างๆ ช่วยทำให้การตั้งครรภ์สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
รายการตรวจ
1.Semen (Sperm) Analysis
2.CBC
3.Blood Group ABO
4.Blood Group Rh
5.Hb Typing
6.Anti HIV (HIVAb) (Screening)
7.RPR (Rapid Plasma Reagin)
8.HBsAg
9.Anti HCV (HCVAb)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

เหมาะสำหรับ
ผู้ที่ต้องการหาสาเหตุภาวะผู้มีบุตรยากหรือมีอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่เริ่มมีภาวะมีบุตรยาก และตรวจเพื่อหาความผิดปกติอย่างละเอียดที่อาจมีผลต่อความสำเร็จในการทำเด็กหลอดแก้วหรืออื่น ๆ
รายการตรวจ
1.CBCตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
2.Blood Group ABO ตรวจหาหมู่โลหิต
3.Blood Group Rh. ตรวจหาหมู่โลหิต
4.Hb Typing ตรวจวินิจฉัยโรคโลหิตจางธาลัส
5.Anti HIV (HIVAb) (Screening) การตรวจหาภูมิคุ้มกัน HIV
6.RPR(Rapid Plasma Reagin) การตรวจวินิจฉัยโรคซิฟิลิส
7.HBsAg การตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบ ชนิดบี
8.Anti HCV (HCVAb) ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบซี
9.Rubella IgG ตรวจหาภูมิคุ้มกันหัดเยอรมัน
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

เหมาะสำหรับ
ผู้ที่ต้องการหาสาเหตุภาวะผู้มีบุตรยากหรือมีอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่เริ่มมีภาวะมีบุตรยาก และตรวจเพื่อหาความผิดปกติอย่างละเอียดที่อาจมีผลต่อความสำเร็จในการทำเด็กหลอดแก้วหรืออื่น ๆ
รายการตรวจ
1.CBCตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
2.Blood Group ABO ตรวจหาหมู่โลหิต
3.Blood Group Rh. ตรวจหาหมู่โลหิต
4.Hb Typing ตรวจวินิจฉัยโรคโลหิตจางธาลัส
5.Anti HIV (HIVAb) (Screening) การตรวจหาภูมิคุ้มกัน HIV
6.RPR(Rapid Plasma Reagin) การตรวจวินิจฉัยโรคซิฟิลิส
7.HBsAg การตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบ ชนิดบี
8.Anti HCV (HCVAb) ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบซี
9.Rubella IgG ตรวจหาภูมิคุ้มกันหัดเยอรมัน
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ทำไมต้องตรวจสุขภาพก่อนแต่งงาน
การวางแผนครอบครัวเป็นส่วนสำคัญของการใช้ชีวิตคู่ เพื่อดูว่าคู่รักมีวิสัยทัศน์การใช้ชีวิตร่วมกันที่ตรงกันหรือไม่ และแน่นอนว่าการวางแผนเรื่องสุขภาพของกันและกันเป็นเรื่องที่ขาดไม่ได้เลย โดยเฉพาะในคู่แต่งงานที่ต้องการมีบุตร ดังนั้นการตรวจสุขภาพก่อนสมรสจึงเป็นเรื่องจำเป็น นอกจากเป็นการตรวจเช็คความพร้อมของร่างกายแล้ว ก็ยังเป็นการวางแผนอย่างรอบคอบเพื่อการใช้ชีวิตคู่ที่ราบรื่นอีกด้วย

การตรวจสุขภาพก่อนแต่งงานมีประโยชน์หลายอย่าง
1.ช่วยให้ข้อมูลเรื่องกรุ๊ปเลือดหรือหมู่โลหิต ซึ่งเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการรักษาสุขภาพโดยเฉพาะในกรณีฉุกเฉิน การรู้กรุ๊ปเลือดของบุคคลสามารถช่วยชีวิตบุคคลนั้นได้
2.ช่วยดูแลเรื่องสุขภาพในแต่ละปีเพื่อการใช้ชีวิตที่ยืนยาวและแข็งแรง เนื่องจากมีการตรวจสุขภาพประจำปีด้วย เป็นการช่วยดูแลสุขภาพโดยรวมไปในตัว
3.ช่วยให้วางแผนค่าใช้จ่ายในชีวิตคู่ได้ง่ายและรอบคอบยิ่งขึ้น
4.ช่วยวางแผนเรื่องการมีบุตร เนื่องจากสุขภาพของพ่อและแม่ส่งผลกระทบต่อบุตรค่อนข้างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของพันธุกรรมและโรคที่สามารถสืบทอดต่อไปได้ หรือความพร้อมของสุขภาพคุณแม่ด้วย
5.ช่วยตรวจหาเชื้อไวรัสบางชนิดที่อาจส่งไปถึงลูก หรือส่งผลอันตรายต่อลูกในครรภ์ได้ เช่น ไวรัสตับอักเสบบีที่อาจทำให้เด็กในครรภ์ติดเชื้อ หรือส่งอันตรายถึงชีวิตของเด็กได้
รายการตรวจ
1.CBC
2.Blood Group ABO
3.Blood Group Rh
4.Hb Typing
5.Anti HIV (HIVAb) (Screening)
6.RPR (Rapid Plasma Reagin)
7.HBsAg
8.Anti HBs (HBsAb)
9.Urine Examination (UA)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ทำไมต้องตรวจสุขภาพก่อนแต่งงาน
การวางแผนครอบครัวเป็นส่วนสำคัญของการใช้ชีวิตคู่ เพื่อดูว่าคู่รักมีวิสัยทัศน์การใช้ชีวิตร่วมกันที่ตรงกันหรือไม่ และแน่นอนว่าการวางแผนเรื่องสุขภาพของกันและกันเป็นเรื่องที่ขาดไม่ได้เลย โดยเฉพาะในคู่แต่งงานที่ต้องการมีบุตร ดังนั้นการตรวจสุขภาพก่อนสมรสจึงเป็นเรื่องจำเป็น นอกจากเป็นการตรวจเช็คความพร้อมของร่างกายแล้ว ก็ยังเป็นการวางแผนอย่างรอบคอบเพื่อการใช้ชีวิตคู่ที่ราบรื่นอีกด้วย

การตรวจสุขภาพก่อนแต่งงานมีประโยชน์หลายอย่าง
1.ช่วยให้ข้อมูลเรื่องกรุ๊ปเลือดหรือหมู่โลหิต ซึ่งเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการรักษาสุขภาพโดยเฉพาะในกรณีฉุกเฉิน การรู้กรุ๊ปเลือดของบุคคลสามารถช่วยชีวิตบุคคลนั้นได้
2.ช่วยดูแลเรื่องสุขภาพในแต่ละปีเพื่อการใช้ชีวิตที่ยืนยาวและแข็งแรง เนื่องจากมีการตรวจสุขภาพประจำปีด้วย เป็นการช่วยดูแลสุขภาพโดยรวมไปในตัว
3.ช่วยให้วางแผนค่าใช้จ่ายในชีวิตคู่ได้ง่ายและรอบคอบยิ่งขึ้น
4.ช่วยวางแผนเรื่องการมีบุตร เนื่องจากสุขภาพของพ่อและแม่ส่งผลกระทบต่อบุตรค่อนข้างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของพันธุกรรมและโรคที่สามารถสืบทอดต่อไปได้ หรือความพร้อมของสุขภาพคุณแม่ด้วย
5.ช่วยตรวจหาเชื้อไวรัสบางชนิดที่อาจส่งไปถึงลูก หรือส่งผลอันตรายต่อลูกในครรภ์ได้ เช่น ไวรัสตับอักเสบบีที่อาจทำให้เด็กในครรภ์ติดเชื้อ หรือส่งอันตรายถึงชีวิตของเด็กได้
รายการตรวจ
1.CBC
2.Blood Group ABO
3.Blood Group Rh
4.Hb Typing
5.Anti HIV (HIVAb) (Screening)
6.RPR (Rapid Plasma Reagin)
7.HBsAg
8.Anti HBs (HBsAb)
9.Urine Examination (UA)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

โปรแกรมตรวจสุขภาพสำหรับคู่รักที่ต้องการ วางแผนครอบครัว เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนมีบุตร ช่วยประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนและอันตรายต่างๆ ช่วยทำให้การตั้งครรภ์สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
รายการตรวจ

1.ซักประวัติและตรวจร่างกายทั่วไปโดยแพทย์ (Physical Examination)
2.ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง (Vital Signs)
3.ตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบซี (HCVAb)
4.ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบบี (HBsAb)
5.ตรวจหาการติดเชื้อไวรัสตับอับเสบบี (HBsAg)
6.ตรวจหาการติดเชื้อซิฟิลิส (VDRL RPR)
7.ตรวจหาภูมิคุ้มกันบกพร่อง (HIVAb Screening)
8.ตรวจหาโรคเลือดพันธุกรรม (Hemoglobin Typing)
9.ตรวจกรุ๊ปเลือด (RH)
10.ตรวจกรุ๊ปเลือด (ABO)
11.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด (CBC)
12.ตรวจความสมบูรณ์ของเชื้ออสุจิ (Sperm Analysis)
13.ตรวจปัสสาวะ (Urine Examination)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

โปรแกรมตรวจสุขภาพสำหรับคู่รักที่ต้องการ วางแผนครอบครัว เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนมีบุตร ช่วยประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนและอันตรายต่างๆ ช่วยทำให้การตั้งครรภ์สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
รายการตรวจ

1.ซักประวัติและตรวจร่างกายทั่วไปโดยแพทย์ (Physical Examination)
2.ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง (Vital Signs)
3.ตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบซี (HCVAb)
4.ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบบี (HBsAb)
5.ตรวจหาการติดเชื้อไวรัสตับอับเสบบี (HBsAg)
6.ตรวจหาการติดเชื้อซิฟิลิส (VDRL RPR)
7.ตรวจหาภูมิคุ้มกันบกพร่อง (HIVAb Screening)
8.ตรวจหาโรคเลือดพันธุกรรม (Hemoglobin Typing)
9.ตรวจกรุ๊ปเลือด (RH)
10.ตรวจกรุ๊ปเลือด (ABO)
11.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด (CBC)
12.ตรวจความสมบูรณ์ของเชื้ออสุจิ (Sperm Analysis)
13.ตรวจปัสสาวะ (Urine Examination)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

โปรแกรมตรวจความสมบูรณ์ของสเปิร์มออกแบบมาเพื่อประเมินสุขภาพของอสุจิและการเจริญพันธุ์ของผู้ชาย ซึ่งจะช่วยให้ทราบถึงปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับการผลิตอสุจิหรือความสามารถในการเจริญพันธุ์
รายการตรวจ

Semen (Sperm) Analysis
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

อาการที่พบและวิธีสังเกตว่า “ปวดท้องประจำเดือน” แบบไหนต้องรีบไปพบแพทย์
- ผู้หญิงจำนวนมากมีอาการปวดท้องก่อนมีประจำเดือน 1-2 วัน และระหว่างมีประจำเดือนในช่วงวันแรกๆ อาการปวดประจำเดือนมีตั้งแต่อาการ
- ปวดหน่วงหรือปวดเกร็งเล็กน้อย ไปจนถึงอาการปวดขั้นรุนแรงบริเวณท้องน้อย และอาจมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น ปวดหลังด้านล่าง คลื่นไส้ -
- อาเจียน เหงื่อออก ท้องเสียหรือท้องผูก ท้องอืด เวียนศีรษะและปวดศีรษะ เป็นต้น
ประจำเดือนที่เป็นปกติดี… ควรเป็นแบบไหน
- รอบของประจำเดือนจะต้องไม่เร็วกว่า 21 วัน และต้องไม่ช้ากว่า 35 วัน
- จำนวนวันที่ประจำเดือนมาไม่ควรเกิน 7 วัน
- ปริมาณของประจำเดือนที่เหมาะสม คือการใช้ผ้าอนามัยไม่เกิน 5-6 ผืนต่อวัน
- ประจำเดือนที่ปกติต้องไม่มีลิ่มเลือดปนอยู่ด้วย
รายการตรวจ
1.CA 125
2.Ultrasound 2D Vagina (OB/ GYN)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ในปัจจุบัน ผู้หญิงไทยอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป มีภาวะประจำเดือนมาไม่ปกติได้จากหลายสาเหตุ อาจจะเกิดจากความผิดปกติของถุงน้ำรังไข่เสื่อมก่อนวัย หรืออาจพบเจอภาวะถุงน้ำรังไข่หลายใบได้
รายการตรวจ
1.TSH (Thyroid Stimulating hormone)
2.E2 (Estradiol)
3.FSH
4.Prolactin
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

การรักษาฟื้นฟูอาการอักเสบและปวดข้อเข่าด้วยเข็มจิ๋ว Nano patch ไม่ต้องทานยา ไม่ต้องฉีดยา ไม่ต้องผ่าตัด ยาจะมุ่งสู่บริเวณที่ปวดโดยตรงและที่สำคัญไม่มีผลข้างเคียงไม่ส่งผลเสียต่อไต
รายการตรวจ
- รักษาอาการปวดเข่าด้วยเข็มจิ๋ว Nano patch
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

การตรวจภาวะ กระดูกบางและพรุนด้วยโปรแกรมตรวจ
ความหนาแน่นของกระดูก
รายการตรวจ
- ค่าตรวจความหนาแน่นของมวลกระดูก บริเวณกระดูกสันหลังและสะโพก
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

เป็นการตรวจความหนาแน่นมวลกระดูก เพื่อดูสุขภาพของกระดูกว่าอยู่ในระดับปกติดี
หรือเป็นโรคกระดูกพรุนหรือไม่
โดยใช้เครื่อง DEXA Scan ซึ่งทำได้ง่าย รวดเร็ว ให้ผลแม่ยำ อีกทั้งรังสีที่ใช้ไม่
ตกค้างในร่างกาย

ข้อดีของการตรวจความหนาแน่นมวลกระดูกคือ
– ทำให้ทราบกระดูกมีความหนาแน่นปกติดี หรือหากมีภาวะกระดูกพรุน จำเป็นต้อง
ได้รับการรักษา หรือเสริมสร้างกระดูกอย่างไร
– ทำให้ทราบวิธีปฏิบัติตัว หรือสิ่งที่ควรระมัดระวังเป็นพิเศษ
โปรแกรมนี้ : เหมาะสำหรับผู้หญิง และผู้ชาย ที่มีอายุตั้งแต่ 45 ปีขึ้น
รายการตรวจ
1. ตรวจเครื่อง DEXA Scan
2. พบแพทย์เฉพาะทางด้านกระดูก และข้อ
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

การตรวจสอบและประเมินสภาพของกระดูกและข้อต่อในร่างกาย เพื่อประเมินความเสี่ยงและการมีปัญหาที่อาจเกิดขึ้น เช่น โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis), โรคข้อเสื่อม (Osteoarthritis), หรือความผิดปกติอื่นๆ
รายการตรวจ
1.ตรวจ Bone Density Lumbar Spine (BMD)
2.ตรวจเอกซ์เรย์ข้อเข่า
3.ตรวจเอกซ์เรย์กระดูกสันหลังส่วนเอว-ก้นท่าตรงและข้าง (LS Spine)
4.ตรวจเอกซ์เรย์กระดูกสันหลังส่วนกระดูกต้นคอ ท่าตรงและข้าง (C Spine)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

การรักษาฟื้นฟูอาการอักเสบและปวดข้อเข่าด้วยเข็มจิ๋ว Nano patchยาจะมุ่งสู่บริเวณที่ปวดโดยตรงและที่สำคัญไม่มีผลข้างเคียงไม่ส่งผลเสียต่อไตผสานกับกับการรักษาด้วยP.RP Cold brew คงอุณหภูมิรอบปั่น รักษาเกล็ดเลือดสำคัญช่วยฟื้นฟูการบาดเจ็บภายในเกล็ดเลือดจะประกอบไปด้วยสารชีวภาพสำคัญที่มีผลต่อการซ่อมแซมและฟื้นฟูการบาดเจ็บที่เกิดขึ้น แต่สารสำคัญเหล่านั้นมักถูกทำลายไปในระหว่างขั้นตอนปั่นคัดแยก ซึ่งทางการแพทย์ในปัจจุบันได้มีการใช้เครื่องปั่นคัดแยกที่ช่วยคงคุณสมบัติต่างๆ ภายในเกล็ดเลือดได้อย่างค่อนข้างสมบูรณ์ โดยแพทย์สามารถกำหนดความเข้มข้นของเกล็ดเลือดได้ตามต้องการ พร้อมควบคุมอุณหภูมิระหว่างการปั่น เพื่อไม่ให้ส่งผลต่อสารชีวภาพของเกล็ดเลือด จึงช่วยรักษาสารสำคัญต่างๆ ภายในเกล็ดเลือดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รายการตรวจ
รักษาอาการปวดเข่าด้วยเข็มจิ๋ว Nano + P.RP Cold brew
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

Calcium Score หรือในชื่อเต็ม CT Coronary Calcium Score คือการตรวจหา ‘หินปูนในเส้นเลือดหัวใจ’ ด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) เพื่อสำรวจ ‘ความเสื่อม’ ของเส้นเลือดหัวใจ และประเมิน ‘ความเสี่ยง’ ของการเกิด โรคหลอดเลือดหัวใจ ในอนาคต แม้จะยังไม่มีอาการแสดง
ขั้นตอนการตรวจหาคราบหินปูนในหลอดเลือดหัวใจ (CAC)

- ผู้เข้ารับการตรวจ CAC เปลี่ยนเสื้อผ้าเป็นชุดคลุมที่โรงพยาบาลจัดเตรียมให้ และต้องถอดแว่นตา ฟันปลอม รวมถึงเครื่องประดับต่างๆ ออก จากนั้นผู้เข้ารับการตรวจจะนอนราบลงบนเตียงตรวจ โดยเตียงจะค่อยๆ เคลื่อนเข้าไปภายในเครื่องตรวจจนบริเวณหน้าอกอยู่ตรงกับวงแหวนสแกน เครื่องจะเริ่มทำการสแกนด้วยการหมุนไปรอบๆ เพื่อฉายรังสีเอกซเรย์ให้ครบทุกด้าน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะประมวลผลการตรวจโดยแสดงออกมาเป็นภาพเป็นระยะๆ
ในขณะตรวจ ผู้เข้ารับการตรวจจะต้องนอนราบนิ่งๆ และหายใจตามปกติ แต่ในบางกรณีแพทย์จะขอให้หายใจเข้า หายใจออก หรือกลั้นหายใจเป็นบางช่วง เพื่อให้ได้ภาพเอกซเรย์ที่ชัดเจนขึ้น โดยจะมีการสื่อสารกันผ่านระบบอินเตอร์คอมด้วยเสียง การตรวจจะใช้เวลาประมาณ 10-20 นาที เป็นการตรวจที่ไม่เจ็บ ไม่ต้องฉีดสีสวนหัวใจ ไม่ต้องฉีดยาหรือใช้สารทึบแสง และไม่ต้องนอนโรงพยาบาล

การเตรียมตัวก่อนเข้ารับการตรวจหาคราบหินปูนในหลอดเลือดหัวใจ (CAC)

- ไม่ต้องงดน้ำหรืออาหารก่อนตรวจ
- งดชา กาแฟ และเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนอย่างน้อย 12 ชั่วโมงก่อนตรวจ
- งดสูบบุหรี่อย่างน้อย 4 ชั่วโมงก่อนตรวจ
- หลีกเลี่ยงยาที่จะกระตุ้นหัวใจหรือชีพจรให้เต้นเร็วขึ้น
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

“มะเร็งเต้านม” โรคที่แค่เอ่ยถึงก็อาจทำให้ผู้หญิงรู้สึกกังวล แต่รู้หรือไม่ว่า? โรคมะเร็งเต้านมสามารถรักษาได้ เพียงแค่รู้จักดูแลเอาใจใส่ตรวจเต้านมอย่างสม่ำเสมอ เพราะมะเร็งเต้านมยิ่ง(ตรวจ)เจอเร็ว…ก็ยิ่งเพิ่มโอกาสหายขาด
รายการตรวจ
1. ตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ดิจิตอลแมโมแกรมทั้งสองข้าง
2. ซักประวัติโดยแพทย์เฉพาะทางด้านเต้านม
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ตรวจหาความเสี่ยงมะเร็งเต้านมด้วยเครื่อง Digital Mammogram with U/S Breast Both สำหรับผู้ที่เสริมหน้าอก เพื่อตรวจสอบเนื้อเยื่อบริเวณเต้านมว่าผิดปกติหรือไม่ หากพบสิ่งผิดปกติการอัลตราซาวด์จะสามารถบ่งบอกได้ว่า สิ่งผิดปกติที่พบเป็นถุงน้ำ หรือก้อนเนื้อ และสามารถลุกลามเป็นเนื้อร้ายหรือไม่ เพื่อจะได้วางแผนการรักษาได้อย่างเหมาะสม
เหมาะสำหรับผู้ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป หรือผู้ที่คล้ำบริเวณเต้านมแล้วพบความผิดปกติ
รายการตรวจ
1. ตรวจประเมินและดูแลให้คำปรึกษาโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านศัลยกรรมเต้านม
2. ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยเครื่องดิจิตอลแมมโมแกรม พร้อมอัลตราซาวด์เต้านม (Digital Mammogram With Ultrasound Breast) *กรณีเสริมเต้านม
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ต่อมไทรอยด์ เป็นต่อมไร้ท่อที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในร่างกาย มีรูปร่างคล้ายปีกผีเสื้อ อยู่ตรงบริเวณหน้าหลอดลมใต้กล่องเสียง ต่อมไทรอยด์มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน ซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิต เพราะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเผาผลาญพลังงานในร่างกาย รักษาระดับอุณหภูมิ และมีผลโดยตรงต่อการทำงานของสมอง กล้ามเนื้อ และอวัยวะต่างๆ
รายการตรวจ
1.Free T3 (Free T3) ตรวจวัดปริมาณฮอร์โมนไทรอยด์ไทรอยด์
2.FT4 (Free T4) ตรวจวัดปริมาณฮอร์โมนไทรอยด์
3.TSH (Thyroid Stimulating hormone) ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ต่อมไทรอยด์ เป็นต่อมไร้ท่อที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในร่างกาย มีรูปร่างคล้ายปีกผีเสื้อ อยู่ตรงบริเวณหน้าหลอดลมใต้กล่องเสียง ต่อมไทรอยด์มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน ซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิต เพราะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเผาผลาญพลังงานในร่างกาย รักษาระดับอุณหภูมิ และมีผลโดยตรงต่อการทำงานของสมอง กล้ามเนื้อ และอวัยวะต่างๆ
รายการตรวจ
1.Free T3 (Free T3) ตรวจวัดปริมาณฮอร์โมนไทรอยด์ไทรอยด์
2.FT4 (Free T4) ตรวจวัดปริมาณฮอร์โมนไทรอยด์
3.TSH (Thyroid Stimulating hormone) ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

เป็นการตรวจคัดกรองและประเมินสภาพสุขภาพสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงหรือผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน เพื่อตรวจสอบความเสี่ยงและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากโรคเบาหวาน
รายการตรวจ
1.ซักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์
2.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
3.ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
4.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
5.ตรวจติดตามควบคุมเบาหวาน
6.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไขมันไม่ดีในเลือด)
7.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด
8.ตรวจการทำงานของไต
9.ตรวจการทำงานของตับ
10.ตรวจสุขภาพตาโดยจักจักษุแพทย์
11.ตรวจวัดแรงกดใต้ฝ่าเท้า
12.ตรวจวัดระดับไมโครอัลบูมินในปัสสาวะ
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

การตรวจ fibroscan จะได้อะไรบ้าง
- ค่าตับแข็ง : ทำให้สามารถตรวจพบค่าตับแข็งหรือตับใกล้แข็งในผู้ที่ไม่มีอาการได้ และนั่นย่อมดีกว่ารอจนมีอาการ อย่างตาเหลือง ตัวเหลือง ขาบวม หรืออาเจียนเป็นเลือด เพราะจะได้รีบดำเนินการหาสาเหตุที่แน่ชัดว่าเป็นจากไขมันเกาะตับ ไวรัสตับอักเสบ หรือเพราะดื่มสุรามากเกินไป และวางแผนการรักษาได้ตั้งแต่เนิ่นๆ
- ค่าปริมาณไขมันในตับ : ค่าการตรวจที่ได้นี้จะเป็นสัญญาณเตือนที่จะบอกว่า คุณกำลังเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดมากกว่าคนที่ไม่มีไขมันในตับ ทั้งยังมีข้อมูลจากในหลายประเทศที่ระบุว่า ปริมาณไขมันในตับที่สูงมีความสัมพันธ์กับโอกาสการเกิดอัมพาตในอนาคตที่มากขึ้น
เงื่อนไขการรับบริการ
1. ขอสงวนสิทธิ์การเปลี่ยนแปลงโดยไม่แจ้งให้ทราบล่วงหน้า
2. ราคาดังกล่าวขอสงวนสิทธิ์สำหรับชาวไทยและชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยเท่านั้น
3. โปรแกรมนี้ใช้สำหรับ รพ. พญาไท 2 เท่านั้น
4.รวมค่าแพทย์ ค่าบริการโรงบาลและค่าบริการพยาบาล
หมายเหตุ
1. ไม่รวมค่าแพทย์แจ้งผล (กรณีแพทย์เก็บเพิ่ม)
2. รวมค่าแพทย์อ่านผล
3. รวมค่าบริการโรงบาลและค่าบริการพยาบาล

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

“ปัญหาท้องผูก” ไม่ใช่เรื่องเล็กๆ ที่จะมองข้ามได้ ถ้ารู้สึกว่าการขับถ่ายเป็นเรื่องยาก การขับถ่ายแต่ละครั้งต้องอยู่ในห้องน้ำเป็นเวลานาน ต้องใช้แรงเบ่ง และมีอาการท้องอืด ปวดท้อง และเกร็งบริเวณหน้าท้องร่วมด้วย อาการเหล่านี้เป็นสัญญาณว่าคุณกำลังมีอาการท้องผูก หากมีอาการต่อเนื่องนานเกิน 3 เดือน จากอาการท้องผูกธรรมดาอาจนำไปสู่ปัญหาสุขภาพที่ร้ายแรงและส่งผลต่อคุณภาพชีวิตได้
ตรวจอวัยวะในช่องท้องส่วนบน
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

เหมาะสำหรับผู้ที่มีปัญหาปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะลำบาก บ่อย ไม่สม่ำเสมอ ผิดปกติ เช่น มีกลิ่นผิดปกติ หรือมีอาการขุ่น
รายการตรวจ
1.Glucose (Sugar, FBS)
2.Creatinine (plus eGFR)
3.Urine Examination (UA)
4.PSA (Prostatic Specific Antigen)
5.US. KUB
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

เหมาะสำหรับผู้ที่มีปัญหาปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะลำบาก บ่อย ไม่สม่ำเสมอ ผิดปกติ เช่น มีกลิ่นผิดปกติ หรือมีอาการขุ่น
รายการตรวจ
1.Glucose (Sugar, FBS) ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
2.Creatinine (plus eGFR) ตรวจการทำงานของไต
3.Urine Examination (UA) ตรวจวิเคราะห์ปัสสาวะ
4.US. KUB ตรวจอัลตราซาวด์ระบบทางเดินปัสสาวะ
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

“มะเร็งต่อมลูกหมาก” เป็นมะเร็งร้ายอันดับต้นๆ ที่ทำให้เหล่าผู้ชายทุกคนต้องหวาดผวา ซึ่งนับวันก็จะพบว่ามีสถิติผู้ป่วยโรคนี้เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น คุณผู้ชายทุกคนควรทำความรู้จักโรคนี้ไว้ เพื่อเตรียมพร้อมดูแลสุขภาพตัวเองให้ห่างไกลจากโรคร้ายนี้ให้ได้มากที่สุด
รายการตรวจ
1.Glucose (Sugar, FBS) การตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด
2.Cholesterol ตรวจไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด
3.Triglyceride ตรวจหาระดับไขมันไตรกลิเซอร์ไรด์ในเลือด
4.HDL-Cholesterol ตรวจหาไขมันชนิดดี
5.LDL - Cholesterol (Direct) ตรวจหาไขมันชนิดไม่ดี
6.CBC ตรวจหาความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
7.TSH (Thyroid Stimulating hormone) การตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์
8.Testosterone ตรวจฮอร์โมนเทสโทสเตอร์โรน
9.PSA (Prostatic Specific Antigen) ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

การตรวจสุขภาพเด็กเป็นการตรวจทางการแพทย์ตามปกติที่ออกแบบมาเพื่อประเมินสุขภาพโดยรวมและพัฒนาการของเด็ก
ตรวจสุขภาพเด็ก Silver (อายุ 5-15 ปี)
รายการตรวจ
1. ตรวจสุขภาพเด็กโดยกุมารแพทย์ (Pediatric Examination)
2. ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดัน และตรวจวัดสายตา (Vital sign)
3. ตรวจเอกซเรย์ปอด Chest (AP or PA upright)
4. ตรวจความสมบูรณ์ของเลือด (CBC)
5. ตรวจการทำงานของตับ (SGOT)
6. ตรวจระดับไขมันในเลือด (Cholesterol)
7. ตรวจการทำงานของไต (Creatinine)
8. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Glucose (Sugar, FBS)
9. ตรวจปัสสาวะ (Urine Examination)
10. ตรวจหากรุ๊ปเลือด (ABO)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

การตรวจสุขภาพเด็กเป็นการตรวจทางการแพทย์ตามปกติที่ออกแบบมาเพื่อประเมินสุขภาพโดยรวมและพัฒนาการของเด็ก
ตรวจสุขภาพเด็ก Gold (อายุ 5-15 ปี)
รายการตรวจ
1. ตรวจสุขภาพเด็กโดยกุมารแพทย์ (Pediatric Examination)
2. ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดัน และตรวจวัดสายตา (Vital sign)
3. ตรวจเอกซเรย์ปอด Chest (AP or PA upright)
4. ตรวจความสมบูรณ์ของเลือด (CBC)
5. ตรวจการทำงานของตับ (SGOT)
6. ตรวจระดับไขมันในเลือด (Cholesterol)
7. ตรวจการทำงานของไต (Creatinine)
8. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Glucose (Sugar, FBS)
9. ตรวจปัสสาวะ (Urine Examination)
10. ตรวจหากรุ๊ปเลือด (ABO)
11. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ (TSH)
12. ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบเอ (Anti HAV)
13. ตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (HBsAg)
14. ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบบี (Anti HBs)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเด็กเกิดจากพันธุกรรม ปัจจุบันมีพ่อแม่ผู้ปกครองเข้ามาปรึกษาเรื่องเด็กโตช้าประมาณร้อยละ 10 แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นพบว่า กว่าร้อยละ 60 เกิดจากพันธุกรรมคือมีพ่อแม่หรือประวัติของปู่ย่าตายายที่ตัวเล็กมาก่อนเป็นส่วนใหญ่ นอกจากนั้นแล้วความผิดปกติจากโรคบางชนิดหรือฮอร์โมนอาจเป็นสาเหตุทำให้เด็กตัวเตี้ย ได้แก่ ภาวะขาดฮอร์โมนเจริญเติบโต ภาวะขาดไทรอยด์ฮอร์โมน เป็นต้น

เด็กที่สงสัยว่าจะมีการเจริญเติบโตผิดปกติควรได้รับการ ตรวจวินิจฉัยโดยแพทย์แต่เนิ่นๆ เนื่องจากบางภาวะสามารถให้การรักษาได้และได้ผลดีกว่าหากรักษาตั้งแต่อายุน้อยๆ ไม่ควรรอจนอายุมาก หรือจนมีลักษณะเป็นหนุ่มสาวจึงค่อยมาพบแพทย์เพราะทำให้การรักษาไม่ได้ ผลดีเท่าที่ควร หรือไม่ได้เลย
รายการตรวจ
– ตรวจร่างกายทั่วไปโดยกุมารแพทย์
– ค่าบริการโรงพยาบาลผู้ป่วยนอก
– ตรวจหน้าที่การทำงานของไต Creatinine (plus eGFR)
– ตรวจแร่ธาตุและสารละลาย (Sodium, Potassium, Chloride, CO2)
– ตรวจระดับแคลเซียมCalcium
– ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
– ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
– ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้ไม่รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาล

โปรแกรมตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบของร่างกาย Body Composition Analyzer ด้วยเครื่อง Inbody
รายการตรวจ
โปรแกรมตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบของร่างกาย Body Composition Analyzer ด้วยเครื่อง Inbody


DEXA Scan การตรวจไขมันและกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย เช็คปริมาณไขมันในแต่ละส่วน กล้ามเนื้อแต่ละมัดว่าแขน ขา มีมวลกล้ามเนื้อแต่ละข้างเท่าไหร่ ช่วยให้กำหนดวิธีการลดน้ำหนักได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งช่วยให้รู้ถึงปริมาณ “ไขมันที่พุง” หรือไขมันที่เกาะอยู่บริเวณลำไส้และภายในช่องท้อง ปัจจัยที่เพิ่มโอกาสเสี่ยงโรคร้าย อย่าง โรคหัวใจ เบาหวาน และสมองเสื่อม
เป็นการทำงานโดยใช้คลื่นรังสีเอ็กซ์ในการสแกนตั้งแต่ภายนอกถึงภายใน คือ ไขมัน กล้ามเนื้อและกระดูก



- โปรแกรมตรวจสุขภาพ Premier Executive Check-up สำหรับผู้ชายที่มีอายุน้อยกว่า 40 ปี
- โปรแกรมนี้เหมาะสำหรับผู้ชายอายุน้อยกว่า 40 ปี ที่ต้องการตรวจสุขภาพ เพื่อคัดกรองความเสี่ยงโรคเรื้อรัง มะเร็งต่อมลูกหมาก รวมไปถึงการตรวจระดับวิตามิน สารต้านอนุมูลอิสระ แร่ธาตุ และระดับฮอร์โมนที่สำคัญและจำเป็นของร่างกาย เช็กอัพครอบคลุมมากถึง 58 รายการ
Consultations :
1.รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องฮอร์โมน Hormones
2.รับคำปรึกษากับแพทย์วิตามินและสารต้านอนุมูลอิสระ Micronutrient
3.รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องอาหารและการออกกำลังกาย Registered Dietician
Micronutrients :
4.ตรวจระดับวิตามิน C Vitamin C (HPLC)
5.ตรวจระดับวิตามิน A Vitamin A (HPLC)
6.ตรวจระดับวิตามิน E Vitamin E (HPLC)
7.ตรวจระดับวิตามิน E Gamma Tocopherol
8.ตรวจระดับ Beta Carotene Beta Carotene
9.ตรวจระดับ Alpha Carotene Alpha Carotene
10.ตรวจระดับ Coenzyme Q10 Coenzyme Q10 (HPLC)
11.ตรวจระดับ Lycopene Lycopene
12.ตรวจระดับวิตามิน B12 Vitamin B12
13.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Folate (Serum)
14.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Chromium in blood ( Mass Spectrometry)
15.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Copper in blood ( Mass Spectrometry)
16.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Ferritin (Lab)
17.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Magnesium
18.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Selenium in Blood (Mass Spectrometry)
19.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Zinc in Blood (Mass Spectrometry)
Hormones :
20.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Luteinizing Hormones (LH)
21.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Follicle Stimulating Hormone (FSH)
22.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Estradiol ( E2)
23.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Testosterone
24.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Thyroid Stimulating Hormone (TSH)
25.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Free T3
26.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Free T4
27.ตรวจระดับฮอร์โมนความสุข (ฮอร์โมนต้านความเครียด) Dehydroepiandrosterone Sulphate (DHEA-S)
28.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน IGF1
Blood Test :
29.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือด CBC
Inflammatory Markers :
30.ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย ESR
31.ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย CRP high sense
Lipid Profile :
32.ตรวจปริมาณไขมันโคเลสเตอรอล Cholesterol
33.ตรวจปริมาณไขมันไตรกลีเซอไรด์ Triglyceride
34.ตรวจปริมาณไขมันดี HDL
35.ตรวจปริมาณไขมันไมดี LDL
Sugar :
36.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Glucose (Fasting) 37 ตรวจะดับน้ำตาลสะสมในเลือด Glycated Hb (HbA1c)
38.ตรวจระดับน้ำตาลในตับอ่อน insu.lin
Liver Function Test :
39.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
40.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
41.ตรวจการทำงานของตับ Alkaline Phosphatase
42.ตรวจการทำงานของตับ Bilirubin
43.ตรวจการทำงานของตับ Albumin
Kidney Function :
44.ตรวจการทำงานของไต BUN
45.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
Gout :
46.ตรวจระดับกรดยูริค Uric Acid
Tumor Markers :
47.ตรวหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร Carcinoembryonic Antigen (CEA)
48.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ Alphafetoprotein (AFP)
49.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก Prostatic Specific Antigen(PSA)
Other Lab :
50.ตรวจปัสสาวะ Urine Exam
51.ตรวจอุจจาระ Stool Exam
Added Lab :
52.ตรวจสาร Homocysteine ดูความเสี่ยงโรคหลอดเลือดและการอักเสบในร่างกาย Homocysteine
Investigations :
53.ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
54.ตรวจเอ็กซเรย์ทรวงอก Chest X-ray
55.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ EKG
56.ตรวจภาวะกระดูกพรุนบริเวณสันหลังและสะโพก Bone Density (Tentative Lumbar Hip)
57.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole abdomen
58.ตรวจวัดองค์ประกอบของร่างกาย Body Composition Analysis



- โปรแกรมตรวจสุขภาพ Premier Executive Check-up สำหรับผู้ชายที่มีอายุมากกว่า 40 ปี
- โปรแกรมนี้เหมาะสำหรับผู้ชายอายุมากกว่า 40 ปี ที่ต้องการตรวจสุขภาพ เพื่อคัดกรองความเสี่ยงโรคเรื้อรัง มะเร็งต่อมลูกหมาก รวมไปถึงการตรวจระดับวิตามิน สารต้านอนุมูลอิสระ แร่ธาตุ และระดับฮอร์โมนที่สำคัญและจำเป็นของร่างกาย เช็กอัพครอบคลุมมากถึง 58 รายการ
รายการตรวจ
Consultations :
1. รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องฮอร์โมน Hormones
2. รับคำปรึกษากับแพทย์วิตามินและสารต้านอนุมูลอิสระ Micronutrient
3. รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องทางเดินปัสสาวะ Urologist
4. รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องอาหารและการออกกำลังกาย Registered Dietician
Micronutrients :
5. ตรวจระดับวิตามิน C Vitamin C (HPLC)
6. ตรวจระดับวิตามิน A Vitamin A (HPLC)
7. ตรวจระดับวิตามิน E Vitamin E (HPLC)
8. ตรวจระดับวิตามิน E Gamma Tocopherol
9. ตรวจระดับ Beta Carotene Beta Carotene
10. ตรวจระดับ Alpha Carotene Alpha Carotene
11. ตรวจระดับ Coenzyme Q10 Coenzyme Q10 (HPLC)
12. ตรวจระดับ Lycopene Lycopene
13. ตรวจระดับวิตามิน B12 Vitamin B12
14. ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Folate (Serum)
15. ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Chromium in blood ( Mass Spectrometry)
16. ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Copper in blood ( Mass Spectrometry)
17. ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Ferritin (Lab)
18. ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Magnesium
19. ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Selenium in Blood (Mass Spectrometry)
20. ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Zinc in Blood (Mass Spectrometry)
Hormones :
21. ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Luteinizing Hormones (LH)
22. ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Follicle Stimulating Hormone (FSH)
23. ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Estradiol ( E2)
24. ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Testosterone
25. ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Thyroid Stimulating Hormone (TSH)
26. ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Free T3
27. ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Free T4
28. ตรวจระดับฮอร์โมนความสุข (ฮอร์โมนต้านความเครียด) Dehydroepiandrosterone Sulphate (DHEA-S)
29. ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน IGF1
Blood Test :
30. ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือด CBC
Inflammatory Markers :
31. ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย ESR
32. ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย CRP high sense
Lipid Profile :
33. ตรวจปริมาณไขมันโคเลสเตอรอล Cholesterol
34. ตรวจปริมาณไขมันไตรกลีเซอไรด์ Triglyceride
35. ตรวจปริมาณไขมันดี HDL
36. ตรวจปริมาณไขมันไมดี LDL
Sugar :
37. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Glucose (Fasting)
38. ตรวจะดับน้ำตาลสะสมในเลือด Glycated Hb (HbA1c)
39. ตรวจระดับน้ำตาลในตับอ่อน insu.lin
Liver Function Test :
40. ตรวจการทำงานของตับ SGPT
41. ตรวจการทำงานของตับ SGOT
42. ตรวจการทำงานของตับ Alkaline Phosphatase
43. ตรวจการทำงานของตับ Bilirubin
44. ตรวจการทำงานของตับ Albumin
Kidney Function :
45. ตรวจการทำงานของไต BUN
46. ตรวจการทำงานของไต Creatinine
Gout :
47. ตรวจระดับกรดยูริค Uric Acid
Tumor Markers :
48. ตรวหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร Carcinoembryonic Antigen (CEA)
49. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ Alphafetoprotein (AFP)
50. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก Prostatic Specific Antigen(PSA)
Other Lab :
51. ตรวจปัสสาวะ Urine Exam
52. ตรวจอุจจาระ Stool Exam
Added Lab :
53. ตรวจสาร Homocysteine ดูความเสี่ยงโรคหลอดเลือดและการอักเสบในร่างกาย Homocysteine
Investigations :
54. ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
55. ตรวจเอ็กซเรย์ทรวงอก Chest X-ray
56. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ EKG
57. ตรวจภาวะกระดูกพรุนบริเวณสันหลังและสะโพก Bone Density (Tentative Lumbar Hip)
58. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole abdomen
59. ตรวจอัลตร้าซาวด์ต่อมลูกหมาก Ultrasound Transrectal (Prostate)
60. ตรวจวัดองค์ประกอบของร่างกาย Body Composition Analysis



รายละเอียดแพ็กเกจ
โปรแกรมตรวจสุขภาพ Premier Executive Check – up สำหรับผู้ชายที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป
โปรแกรมนี้เหมาะสำหรับผู้ชายอายุ 40 ปีขึ้นไป ที่ต้องการตรวจสุขภาพ เพื่อคัดกรองความเสี่ยงโรคเรื้อรัง คัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมาก อัลตร้าซาวด์ต่อมลูกหมาก รวมไปถึงการตรวจระดับวิตามิน สารต้านอนุมูลอิสระ แร่ธาตุ และระดับฮอร์โมนที่สำคัญและจำเป็นของร่างกาย เช็กอัพครอบคลุมมากถึง 60 รายการ
Consultations :
1 รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องฮอร์โมน Hormones
2 รับคำปรึกษากับแพทย์วิตามินและสารต้านอนุมูลอิสระ Micronutrient
3 รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องทางเดินปัสสาวะ Urologist
4 รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องอาหารและการออกกำลังกาย Registered Dietician
Micronutrients :
5 ตรวจระดับวิตามิน C Vitamin C (HPLC)
6 ตรวจระดับวิตามิน A Vitamin A (HPLC)
7 ตรวจระดับวิตามิน E Vitamin E (HPLC)
8 ตรวจระดับวิตามิน E Gamma Tocopherol
9 ตรวจระดับ Beta Carotene Beta Carotene
10 ตรวจระดับ Alpha Carotene Alpha Carotene
11 ตรวจระดับ Coenzyme Q10 Coenzyme Q10 (HPLC)
12 ตรวจระดับ Lycopene Lycopene
13 ตรวจระดับวิตามิน B12 Vitamin B12
14 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Folate (Serum)
15 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Chromium in blood ( Mass Spectrometry)
16 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Copper in blood ( Mass Spectrometry)
17 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Ferritin (Lab)
18 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Magnesium
19 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Selenium in Blood (Mass Spectrometry)
20 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Zinc in Blood (Mass Spectrometry)
Hormones :
21 ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Luteinizing Hormones (LH)
22 ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Follicle Stimulating Hormone (FSH)
23 ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Estradiol ( E2)
24 ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Testosterone
25 ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Thyroid Stimulating Hormone (TSH)
26 ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Free T3
27 ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Free T4
28 ตรวจระดับฮอร์โมนความสุข (ฮอร์โมนต้านความเครียด) Dehydroepiandrosterone Sulphate (DHEA-S)
29 ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน IGF1
Blood Test :
30 ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือด CBC
Inflammatory Markers :
31 ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย ESR
32 ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย CRP high sense
Lipid Profile :
33 ตรวจปริมาณไขมันโคเลสเตอรอล Cholesterol
34 ตรวจปริมาณไขมันไตรกลีเซอไรด์ Triglyceride
35 ตรวจปริมาณไขมันดี HDL
36 ตรวจปริมาณไขมันไมดี LDL
Sugar :
37 ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Glucose (Fasting)
38 ตรวจะดับน้ำตาลสะสมในเลือด Glycated Hb (HbA1c)
39 ตรวจระดับน้ำตาลในตับอ่อน insu.lin
Liver Function Test :
40 ตรวจการทำงานของตับ SGPT
41 ตรวจการทำงานของตับ SGOT
42 ตรวจการทำงานของตับ Alkaline Phosphatase
43 ตรวจการทำงานของตับ Bilirubin
44 ตรวจการทำงานของตับ Albumin
Kidney Function :
45 ตรวจการทำงานของไต BUN
46 ตรวจการทำงานของไต Creatinine
Gout :
47 ตรวจระดับกรดยูริค Uric Acid
Tumor Markers :
48 ตรวหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร Carcinoembryonic Antigen (CEA)
49 ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ Alphafetoprotein (AFP)
50 ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก Prostatic Specific Antigen(PSA)
Other Lab :
51 ตรวจปัสสาวะ Urine Exam
52 ตรวจอุจจาระ Stool Exam
Added Lab :
53 ตรวจสาร Homocysteine ดูความเสี่ยงโรคหลอดเลือดและการอักเสบในร่างกาย Homocysteine
Investigations :
54 ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
55 ตรวจเอ็กซเรย์ทรวงอก Chest X-ray
56 ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ EKG
57 ตรวจภาวะกระดูกพรุนบริเวณสันหลังและสะโพก Bone Density (Tentative Lumbar Hip)
58 ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole abdomen
59 ตรวจอัลตร้าซาวด์ต่อมลูกหมาก Ultrasound Transrectal (Prostate)
60 ตรวจวัดองค์ประกอบของร่างกาย Body Composition Analysis



รายละเอียดแพ็กเกจ
โปรแกรมตรวจสุขภาพ Premier Executive Check -up สำหรับผู้หญิงที่มีอายุน้อยกว่า 40 ปี
โปรแกรมนี้เหมาะสำหรับผู้หญิงอายุน้อยกว่า 40 ปี ที่ต้องการตรวจสุขภาพ เพื่อคัดกรองความเสี่ยงโรคเรื้อรังต่างๆ มะเร็งปากมดลูก รวมไปถึงการตรวจระดับวิตามิน สารต้านอนุมูลอิสระ แร่ธาตุ และระดับฮอร์โมนที่สำคัญและจำเป็นของร่างกาย เช็กอัพครอบคลุมมากถึง 60 รายการ
Consultations :
1 รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องฮอร์โมน Hormones
2 รับคำปรึกษากับแพทย์วิตามินและสารต้านอนุมูลอิสระ Micronutrient
3 รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องอาหารและการออกกำลังกาย Registered Dietician
Micronutrients :
4 ตรวจระดับวิตามิน C Vitamin C (HPLC)
5 ตรวจระดับวิตามิน A Vitamin A (HPLC)
6 ตรวจระดับวิตามิน E Vitamin E (HPLC)
7 ตรวจระดับวิตามิน E Gamma Tocopherol
8 ตรวจระดับ Beta Carotene Beta Carotene
9 ตรวจระดับ Alpha Carotene Alpha Carotene
10 ตรวจระดับ Coenzyme Q10 Coenzyme Q10 (HPLC)
11 ตรวจระดับ Lycopene Lycopene
12 ตรวจระดับวิตามิน B12 Vitamin B12
13 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Folate (Serum)
14 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Chromium in blood ( Mass Spectrometry)
15 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Copper in blood ( Mass Spectrometry)
16 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Ferritin (Lab)
17 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Magnesium
18 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Selenium in Blood (Mass Spectrometry)
19 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Zinc in Blood (Mass Spectrometry)
Hormones :
20 ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Luteinizing Hormones (LH)
21 ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Follicle Stimulating Hormone (FSH)
22 ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Estradiol ( E2)
23 ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Progesterone
24 ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Testosterone
25 ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Thyroid Stimulating Hormone (TSH)
26 ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Free T3
27 ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Free T4
28 ตรวจระดับฮอร์โมนความสุข (ฮอร์โมนต้านความเครียด) Dehydroepiandrosterone Sulphate (DHEA-S)
29 ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน IGF1
Blood Test :
30 ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือด CBC
Inflammatory Markers :
31 ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย ESR
32 ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย CRP high sense
Lipid Profile :
33 ตรวจปริมาณไขมันโคเลสเตอรอล Cholesterol
34 ตรวจปริมาณไขมันไตรกลีเซอไรด์ Triglyceride
35 ตรวจปริมาณไขมันดี HDL
36 ตรวจปริมาณไขมันไมดี LDL
Sugar :
37 ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Glucose (Fasting)
38 ตรวจะดับน้ำตาลสะสมในเลือด Glycated Hb (HbA1c)
39 ตรวจระดับน้ำตาลในตับอ่อน insu.lin
Liver Function Test :
40 ตรวจการทำงานของตับ SGPT
41 ตรวจการทำงานของตับ SGOT
42 ตรวจการทำงานของตับ Alkaline Phosphatase
43 ตรวจการทำงานของตับ Bilirubin
44 ตรวจการทำงานของตับ Albumin
Kidney Function :
45 ตรวจการทำงานของไต BUN
46 ตรวจการทำงานของไต Creatinine
Gout :
47 ตรวจระดับกรดยูริค Uric Acid
Tumor Markers :
48 ตรวหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร Carcinoembryonic Antigen (CEA)
49 ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ Alphafetoprotein (AFP)
50 ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งเต้านม Cancer Antigen 15-3 (Breast Cancer)
Other Lab :
51 ตรวจปัสสาวะ Urine Exam
52 ตรวจอุจจาระ Stool Exam
Added Lab :
53 ตรวจสาร Homocysteine ดูความเสี่ยงโรคหลอดเลือดและการอักเสบในร่างกาย Homocysteine
Investigations :
54 ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
55 ตรวจเอ็กซเรย์ทรวงอก Chest X-ray
56 ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ EKG
57 ตรวจภาวะกระดูกพรุนบริเวณสันหลังและสะโพก Bone Density (Tentative Lumbar Hip)
58 ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole abdomen
59 ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยเครื่อง Digital mammogram Digital Mammogram +U/S
60 ตรวจมะเร็งปากมดลูก Pap test
61 ตรวจวัดองค์ประกอบของร่างกาย Body Composition Analysis



ตรวจเชิงลึกระดับยีน (Gene)และ DNA ความเสี่ยงโรคสมองเสื่อม (อัลไซเมอร์) โรคหัวใจ มะเร็ง เบาหวาน
1.รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องฮอร์โมน Hormones
2.รับคำปรึกษากับแพทย์วิตามินและสารต้านอนุมูลอิสระ Micronutrient
3.รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องอาหารและการออกกำลังกาย Registered Dietician
4.ตรวจระดับวิตามิน C Vitamin C (HPLC)
5.ตรวจระดับวิตามิน A Vitamin A (HPLC)
6.ตรวจระดับวิตามิน E Vitamin E (HPLC)
7.ตรวจระดับวิตามิน E Gamma Tocopherol
8.ตรวจระดับ Beta Carotene Beta Carotene
9.ตรวจระดับ Alpha Carotene Alpha Carotene
10.ตรวจระดับ Coenzyme Q10 Coenzyme Q10 (HPLC)
11.ตรวจระดับ Lycopene Lycopene
12.ตรวจระดับวิตามิน B12 Vitamin B12
13.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Folate (Serum)
14.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Chromium in blood ( Mass Spectrometry)
15.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Copper in blood ( Mass Spectrometry)
16.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Ferritin (Lab)
17.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Magnesium
18.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Selenium in Blood (Mass Spectrometry)
19.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Zinc in Blood (Mass Spectrometry)
20.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Luteinizing Hormones (LH)
21.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Follicle Stimulating Hormone (FSH)
22.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Estradiol ( E2)
23.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Testosterone
24.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Thyroid Stimulating Hormone (TSH)
25.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Free T3
26.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Free T4
27.ตรวจระดับฮอร์โมนความสุข (ฮอร์โมนต้านความเครียด) Dehydroepiandrosterone Sulphate (DHEA-S)
28.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน IGF1
29.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน Sex Hormone Binding Globulin
30.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน IGFBP3
31.ตรวจระดับวิตามิน D2 D3 Vitamin D2 D3 (25 – OH Vitamin D2 D3) (HPLC)
32.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือด CBC
33.ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย ESR
34.ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย CRP high sense
35.ตรวจปริมาณไขมันโคเลสเตอรอล Cholesterol
36.ตรวจปริมาณไขมันไตรกลีเซอไรด์ Triglyceride
37.ตรวจปริมาณไขมันดี HDL
38.ตรวจปริมาณไขมันไมดี LDL
39.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Glucose (Fasting)
40.ตรวจะดับน้ำตาลสะสมในเลือด Glycated Hb (HbA1c)
41.ตรวจระดับน้ำตาลในตับอ่อน insu.lin
42.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
43.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
44.ตรวจการทำงานของตับ Alkaline Phosphatase
45.ตรวจการทำงานของตับ Bilirubin
46.ตรวจการทำงานของตับ Albumin
47.ตรวจการทำงานของไต BUN
48.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
49.ตรวจระดับกรดยูริค Uric Acid
50.ตรวหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร Carcinoembryonic Antigen (CEA)
51.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ Alphafetoprotein (AFP)
52.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก Prostatic Specific Antigen(PSA)
53.ตรวจปัสสาวะ Urine Exam
54.ตรวจอุจจาระ Stool Exam
55.การตรวจระดับการถูกทำลายจากสารอนุมูลอิสระในร่างกาย Malondialdehyde (MDA)(HPLC)
56.การตรวจระดับสารสื่อประสาท VMA,HVA, 5-HIAA, Urine – HPLC (24 - h Urine)
57.ตรวจระดับการทำลายสลายตัวออกมาในปัสสาวะของกระดูก Urine Crosslink
58.ตรวจสาร Homocysteine ดูความเสี่ยงโรคหลอดเลือดและการอักเสบในร่างกาย Homocysteine
59.ตรวจระดับ Glutathione ของร่างกาย Glutathione (HPLC)
60.ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
61.ตรวจเอ็กซเรย์ทรวงอก Chest X-ray
62.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ EKG
63.ตรวจภาวะกระดูกพรุน และไขมันสะสมเฉพาะส่วนทั่วร่างกาย Bone Density (Whole Body)
64.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole abdomen
65.ตรวจวัดองค์ประกอบของร่างกาย Body Composition Analysis



โปรแกรมนี้เหมาะสำหรับผู้ชายและผู้หญิงอายุ 40 ปีขึ้นไป ที่ต้องการตรวจสุขภาพ เพื่อคัดกรองความเสี่ยงโรคเรื้อรัง คัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมาก อัลตร้าซาวด์ต่อมลูกหมาก พร้อมตรวจเจาะลึกถึงระดับวิตามิน สารต้านอนุมูลอิสระ แร่ธาตุ และระดับฮอร์โมนที่สำคัญ เช่น Sex Hormone Binding Globulin ซึ่งเป็นการประเมินว่ามีระดับฮอร์โมนแอนโดรเจนหรือฮอร์โมนผู้ชาย ผิดปกติหรือไม่ รวมถึงการตรวจระดับสารสื่อประสาท และตรวจการสลายตัวของกระดูกทางปัสสาวะ

1 รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องฮอร์โมน Hormones
2 รับคำปรึกษากับแพทย์วิตามินและสารต้านอนุมูลอิสระ Micronutrient
3 รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องทางเดินปัสสาวะ Urologist
4 รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องอาหารและการออกกำลังกาย Registered Dietician
5 ตรวจระดับวิตามิน C Vitamin C (HPLC)
6 ตรวจระดับวิตามิน A Vitamin A (HPLC)
7 ตรวจระดับวิตามิน E Vitamin E (HPLC)
8 ตรวจระดับวิตามิน E Gamma Tocopherol
9 ตรวจระดับ Beta Carotene Beta Carotene
10 ตรวจระดับ Alpha Carotene Alpha Carotene
11 ตรวจระดับ Coenzyme Q10 Coenzyme Q10 (HPLC)
12 ตรวจระดับ Lycopene Lycopene
13 ตรวจระดับวิตามิน B12 Vitamin B12
14 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Folate (Serum)
15 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Chromium in blood ( Mass Spectrometry)
16 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Copper in blood ( Mass Spectrometry)
17 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Ferritin (Lab)
18 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Magnesium
19 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Selenium in Blood (Mass Spectrometry)
20 ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Zinc in Blood (Mass Spectrometry)
21 ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Luteinizing Hormones (LH)
22 ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Follicle Stimulating Hormone (FSH)
23 ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Estradiol ( E2)
24 ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Testosterone
25 ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Thyroid Stimulating Hormone (TSH)
26 ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Free T3
27 ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Free T4
28 ตรวจระดับฮอร์โมนความสุข (ฮอร์โมนต้านความเครียด) Dehydroepiandrosterone Sulphate (DHEA-S)
29 ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน IGF1
30 ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน Sex Hormone Binding Globulin
31 ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน IGFBP3
32 ตรวจระดับวิตามิน D2 D3 Vitamin D2 D3 (25 – OH Vitamin D2 D3) (HPLC)
33 ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือด CBC
34 ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย ESR
35 ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย CRP high sense
36 ตรวจปริมาณไขมันโคเลสเตอรอล Cholesterol
37 ตรวจปริมาณไขมันไตรกลีเซอไรด์ Triglyceride
38 ตรวจปริมาณไขมันดี HDL
39 ตรวจปริมาณไขมันไมดี LDL
40 ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Glucose (Fasting)
41 ตรวจะดับน้ำตาลสะสมในเลือด Glycated Hb (HbA1c)
42 ตรวจระดับน้ำตาลในตับอ่อน insu.lin
43 ตรวจการทำงานของตับ SGPT
44 ตรวจการทำงานของตับ SGOT
45 ตรวจการทำงานของตับ Alkaline Phosphatase
46 ตรวจการทำงานของตับ Bilirubin
47 ตรวจการทำงานของตับ Albumin
48 ตรวจการทำงานของไต BUN
49 ตรวจการทำงานของไต Creatinine
50 ตรวจระดับกรดยูริค Uric Acid
51 ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร Carcinoembryonic Antigen (CEA)
52 ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ Alphafetoprotein (AFP)
53 ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก Prostatic Specific Antigen(PSA)
54 ตรวจปัสสาวะ Urine Exam
55 ตรวจอุจจาระ Stool Exam
56 การตรวจระดับการถูกทำลายจากสารอนุมูลอิสระในร่างกาย Malondialdehyde (MDA)(HPLC)
57 การตรวจระดับสารสื่อประสาท VMA,HVA, 5-HIAA, Urine – HPLC (24 – h Urine)
58 ตรวจระดับการทำลายสลายตัวออกมาในปัสสาวะของกระดูก Urine Crosslink
59 ตรวจสาร Homocysteine ดูความเสี่ยงโรคหลอดเลือดและการอักเสบในร่างกาย Homocysteine
60 ตรวจระดับ Glutathione ของร่างกาย Glutathione (HPLC)
61 ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
62 ตรวจเอ็กซเรย์ทรวงอก Chest X-ray
63 ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ EKG
64 ตรวจภาวะกระดูกพรุน และไขมันสะสมเฉพาะส่วนทั้งร่างกาย Bone Density (Whole body)
65 ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole abdomen
66 ตรวจอัลตร้าซาวด์ต่อมลูกหมาก Ultrasound Transrectal (Prostate)
67 ตรวจวัดองค์ประกอบของร่างกาย Body Composition Analysis



รายละเอียดแพ็กเกจ
โปรแกรมนี้เหมาะสำหรับผู้ชายและผู้หญิงอายุ 40 ปีขึ้นไป ที่ต้องการตรวจสุขภาพ เพื่อคัดกรองความเสี่ยงโรคเรื้อรัง คัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมาก อัลตร้าซาวด์ต่อมลูกหมาก พร้อมตรวจเจาะลึกถึงระดับวิตามิน สารต้านอนุมูลอิสระ แร่ธาตุ และระดับฮอร์โมนที่สำคัญ เช่น Sex Hormone Binding Globulin ซึ่งเป็นการประเมินว่ามีระดับฮอร์โมนแอนโดรเจนหรือฮอร์โมนผู้ชาย ผิดปกติหรือไม่ รวมถึงการตรวจระดับสารสื่อประสาท และตรวจการสลายตัวของกระดูกทางปัสสาวะ
1.รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องฮอร์โมน Hormones
2.รับคำปรึกษากับแพทย์วิตามินและสารต้านอนุมูลอิสระ Micronutrient
3.รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องอาหารและการออกกำลังกาย Registered Dietician
4.ตรวจระดับวิตามิน C (HPLC)
5.ตรวจระดับวิตามิน A (HPLC)
6.ตรวจระดับวิตามิน E (HPLC)
7.ตรวจระดับวิตามิน E Gamma Tocopherol
8.ตรวจระดับ Beta Carotene Beta Carotene
9.ตรวจระดับ Alpha Carotene Alpha Carotene
10.ตรวจระดับ Coenzyme Q10 Coenzyme Q10 (HPLC)
11.ตรวจระดับ Lycopene Lycopene
12.ตรวจระดับวิตามิน B12 Vitamin B12
13.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย (Serum)
14.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย (Mass Spectrometry)
15.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย (Mass Spectrometry)
16.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Ferritin (Lab)
17.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Magnesium
18.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย (Mass Spectrometry)
19.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย (Mass Spectrometry)
20.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ (LH)
21.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ (FSH)
22.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Estradiol (E2)
23.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Progesterone
24.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Testosterone
25.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ (TSH)
26.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Free T3
27.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Free T4
28.ตรวจระดับฮอร์โมนความสุข (ฮอร์โมนต้านความเครียด) (DHEA-S)
29.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน IGF1
30.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน Sex Hormone Binding Globulin
31.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน IGFBP3
32.ตรวจระดับวิตามิน D2 D3 Vitamin D2 D3 (25 – OH Vitamin D2 D3) (HPLC)
33.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือด CBC
34.ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย ESR
35.ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย CRP high sense
36.ตรวจปริมาณไขมันโคเลสเตอรอล Cholesterol
37.ตรวจปริมาณไขมันไตรกลีเซอไรด์ Triglyceride
38.ตรวจปริมาณไขมันดี HDL
39.ตรวจปริมาณไขมันไมดี LDL
40.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Glucose (Fasting)
41.ตรวจะดับน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1c)
42.ตรวจระดับน้ำตาลในตับอ่อน insu.lin
43.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
44.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
45.ตรวจการทำงานของตับ Alkaline Phosphatase
46.ตรวจการทำงานของตับ Bilirubin
47.ตรวจการทำงานของตับ Albumin
48.ตรวจการทำงานของไต BUN
49.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
50.ตรวจระดับกรดยูริค Uric Acid
51.ตรวหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร (CEA)
52.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ (AFP)
53.ตรวจความเสี่ยงมะเร็งเต้านม (Breast Cancer)
54.ตรวจความเสี่ยงมะเร็งรังไข่ (Ovary Cancer)
55.ตรวจปัสสาวะ Urine Exam
56.ตรวจอุจจาระ Stool Exam
57.การตรวจระดับการถูกทำลายจากสารอนุมูลอิสระในร่างกาย Malondialdehyde (MDA)(HPLC)
58.การตรวจระดับสารสื่อประสาท VMA,HVA, 5-HIAA, Urine – HPLC (24 - h Urine)
59.ตรวจระดับการทำลายสลายตัวออกมาในปัสสาวะของกระดูก Urine Crosslink
60.ตรวจสาร Homocysteine ดูความเสี่ยงโรคหลอดเลือดและการอักเสบในร่างกาย Homocysteine
61.ตรวจระดับ Glutathione ของร่างกาย (HPLC)
62.ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
63.ตรวจเอ็กซเรย์ทรวงอก Chest X-ray
64.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ EKG
65.ตรวจภาวะกระดูกพรุน และไขมันสะสมเฉพาะส่วนทั่วร่างกาย Bone Density (Whole Body)
66.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole abdomen
67.ตรวจมะเร็งปากมดลูก Pap test
68.ตรวจวัดองค์ประกอบของร่างกาย Body Composition Analysis
เหมาะสำหรับอายุน้อยกว่า 40 ปี



โปรแกรมนี้เหมาะสำหรับผู้ชายและผู้หญิงอายุ 40 ปีขึ้นไป ที่ต้องการตรวจสุขภาพ เพื่อคัดกรองความเสี่ยงโรคเรื้อรัง คัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมาก อัลตร้าซาวด์ต่อมลูกหมาก พร้อมตรวจเจาะลึกถึงระดับวิตามิน สารต้านอนุมูลอิสระ แร่ธาตุ และระดับฮอร์โมนที่สำคัญ เช่น Sex Hormone Binding Globulin ซึ่งเป็นการประเมินว่ามีระดับฮอร์โมนแอนโดรเจนหรือฮอร์โมนผู้ชาย ผิดปกติหรือไม่ รวมถึงการตรวจระดับสารสื่อประสาท และตรวจการสลายตัวของกระดูกทางปัสสาวะ

1.รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องฮอร์โมน Hormones
2.รับคำปรึกษากับแพทย์วิตามินและสารต้านอนุมูลอิสระ Micronutrient
3.รับคำปรึกษากับแพทย์เรื่องอาหารและการออกกำลังกาย Registered Dietician
4.ตรวจระดับวิตามิน C Vitamin C (HPLC)
5.ตรวจระดับวิตามิน A Vitamin A (HPLC)
6.ตรวจระดับวิตามิน E Vitamin E (HPLC)
7.ตรวจระดับวิตามิน E Gamma Tocopherol
8.ตรวจระดับ Beta Carotene Beta Carotene
9.ตรวจระดับ Alpha Carotene Alpha Carotene
10.ตรวจระดับ Coenzyme Q10 Coenzyme Q10 (HPLC)
11.ตรวจระดับ Lycopene Lycopene
12.ตรวจระดับวิตามิน B12 Vitamin B12
13.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Folate (Serum)
14.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Chromium in blood ( Mass Spectrometry)
15.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Copper in blood ( Mass Spectrometry)
16.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Ferritin (Lab)
17.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Magnesium
18.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Selenium in Blood (Mass Spectrometry)
19.ตรวจวัดระดับแร่ธาตุและเกลือแร่ที่จำเป็นในร่างกาย Zinc in Blood (Mass Spectrometry)
20.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Luteinizing Hormones (LH)
21.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Follicle Stimulating Hormone (FSH)
22.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Estradiol ( E2)
23.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Testosterone
24.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Thyroid Stimulating Hormone (TSH)
25.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Free T3
26.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Free T4
27.ตรวจระดับฮอร์โมนความสุข (ฮอร์โมนต้านความเครียด) Dehydroepiandrosterone Sulphate (DHEA-S)
28.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน IGF1
29.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน Sex Hormone Binding Globulin
30.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน IGFBP3
31.ตรวจระดับวิตามิน D2 D3 Vitamin D2 D3 (25 – OH Vitamin D2 D3) (HPLC)
32.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือด CBC
33.ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย ESR
34.ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย CRP high sense
35.ตรวจปริมาณไขมันโคเลสเตอรอล Cholesterol
36.ตรวจปริมาณไขมันไตรกลีเซอไรด์ Triglyceride
37.ตรวจปริมาณไขมันดี HDL
38.ตรวจปริมาณไขมันไมดี LDL
39.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Glucose (Fasting)
40.ตรวจะดับน้ำตาลสะสมในเลือด Glycated Hb (HbA1c)
41.ตรวจระดับน้ำตาลในตับอ่อน insu.lin
42.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
43.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
44.ตรวจการทำงานของตับ Alkaline Phosphatase
45.ตรวจการทำงานของตับ Bilirubin
46.ตรวจการทำงานของตับ Albumin
47.ตรวจการทำงานของไต BUN
48.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
49.ตรวจระดับกรดยูริค Uric Acid
50.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร Carcinoembryonic Antigen (CEA)
51.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ Alphafetoprotein (AFP)
52.ตรวจความเสี่ยงมะเร็งเต้านม Cancer Antigen 15-3 (Breast Cancer)
53.ตรวจความเสี่ยงมะเร็งรังไข่ CA125 (Ovary Cancer)
54.ตรวจปัสสาวะ Urine Exam
55.ตรวจอุจจาระ Stool Exam
56.การตรวจระดับการถูกทำลายจากสารอนุมูลอิสระในร่างกาย Malondialdehyde (MDA)(HPLC)
57.การตรวจระดับสารสื่อประสาท VMA,HVA, 5-HIAA, Urine – HPLC (24 – h Urine)
58.ตรวจระดับการทำลายสลายตัวออกมาในปัสสาวะของกระดูก Urine Crosslink
59.ตรวจสาร Homocysteine ดูความเสี่ยงโรคหลอดเลือดและการอักเสบในร่างกาย Homocysteine
60.ตรวจระดับ Glutathione ของร่างกาย Glutathione (HPLC)
61.ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
62.ตรวจเอ็กซเรย์ทรวงอก Chest X-ray
63.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ EKG
64.ตรวจภาวะกระดูกพรุน และไขมันสะสมเฉพาะส่วนทั้งร่างกาย Bone Density (Whole body)
65.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole abdomen
66.ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยเครื่อง Digital Mammogram Digital Mammogram + U/S (Female Over 40)
67.ตรวจมะเร็งปากมดลูก Pap test
68.ตรวจวัดองค์ประกอบของร่างกาย Body Composition Analysis



สารพิษโลหะหนักสามารถเข้าสู่ร่างกายของคนเราได้ ทั้งในรูปแบบการรับประทานเข้าไป การสูดดมมลพิษทางอากาศหรือแม้แต่การสัมผัสที่ผิวหนัง อาจปนเปื้อนมาจากหลายปัจจัยในชีวิตประจำวัน เช่น ภาชนะอาหารบางชนิดทำให้เกิดสารพิษตกค้าง หรือเครื่องสำอางที่ไม่ได้มาตรฐานอาจปนเปื้อนแคดเมียม

อาการเตือนว่าอาจมีโลหะหนักในร่างกาย
1.ปวดศีรษะบ่อยๆ ไม่ทราบสาเหตุ
2.ปวดตามร่างกาย อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
3.เหน็บชา ตามปลายมือปลายเท้า
4.เป็นตะคริวบ่อยๆ หรือมีปัญหาผื่นแพ้ ลมพิษ
5.หากโลหะหนักมีการสะสมในร่างกายเป็นเวลานานๆ จะก่อให้เกิดอนุมูลอิสระหรือ Oxidative stress ที่เป็นอันตรายต่อเซลล์ส่วนต่างๆ ของร่างกาย เพิ่มความเสี่ยงต่อการก่อให้เกิดกลุ่มโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคอัลไซเมอร์ และโรคมะเร็ง

ดีท็อกซ์สารพิษ ทางเลือก เพื่อสุขภาพแข็งแรง…ไร้โรค
1.ขับสารพิษที่ตกค้างออกมาแล้ว สิ่งสกปรกในร่างกายลดลง
2.ล้างสารพิษในลำไส้ ทำให้อวัยวะใกล้เคียง เช่น ตับ ถุงน้ำดีตับอ่อน ไต ต่อมน้ำเหลืองและการหมุนเวียนโลหิต
3.ระบบการทำงานของร่างกายดีขึ้น
4.ผิวพรรณส่วนต่างๆ ใสขึ้น รอยสิว รอยจุดด่างดำจางลง
การตรวจโลหะหนักในร่างกายช่วยให้เรา ป้องกันตัวเองไม่ให้มีโลหะหนักในร่างกายมากเกินไป โดยการปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิต หรือกำจัดโลหะหนักเหล่านั้นออก เพื่อให้ร่างกายกลับมาสะอาดปราศจากสารพิษ ด้วยโปรแกรมการตรวจสารพิษและโลหะหนักในร่างกาย
โปรแกรมตรวจสารพิษและโลหะหนักในร่างกาย ด้วยเครื่อง Oligoscan (ตรวจวัดแร่ธาตุ 20 รายการและโลหะหนัก 14 รายการ)

การตรวจวัดระดับสารโลหะหนักและแร่ธาตุในร่างกายด้วยเครื่อง Oligoscan สามารถบอกได้ถึงระดับสารต่างๆในร่างกายว่าอยู่ในระดับผิดปกติหรือที่มีความเสี่ยง การตรวจด้วยเครื่อง Oligoscan เป็นการตรวจโดยใช้เครื่อง Scan จุดบนฝ่ามือ 5 จุดและผลที่ได้จะแบ่งเป็น การบอกค่าของ

ระดับของสารโลหะหนักที่สะสมในร่างกาย Heavy metals intoxication (14 รายการ) ซึ่งได้แก่
1.Aluminium
2.Antimony
3.Silver
4.Arsenic
5.Barium
6.Beryllium
7.Bismuth
8.Cadmium
9.Mercury
10.Nickel
11.Platinum
12.Lead
13.Thallium
14.Thorium

ระดับของแร่ธาตุในร่างกาย Mineral test ( 20 รายการ)
1.Calcium
2.Magnesium
3.Phosphorus
4.Silicon
5.Sodium
6.Potassium
7.Copper
8.Zinc
9.Iron
10.Manganese
11.Chromium
12.Vanadium
13.Boron
14.Cobalt
15.Molybdenum
16.Lodine
17.Lithium
18.Germanium
19.Selenium
20.Sulphure



แพคเกจ ลดน้ำหนักเฉพาะบุคคล Weight Censor
- ตรวจปริมาณระดับน้ำตาล ไขมัน ฮอร์โมนไทรอยด์
- ฮอร์โมนความเครียด โกรทฮอร์โมน ระดับวิตามินในร่างกาย เพื่อการควบคุมน้ำหนักให้ถูกวิธี
1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
3.ตรวจการทำงานของไต Creatinine plus eGFR
4.ตรวจการทำงานของไต BUN
5.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (โคเลสเตอรอล) Cholesterol
6.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไตรกลีเซอไรด์) Triglyceride
7.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไขมันดีในเลือด) HDL-Cholesterol
8.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไขมันไม่ดีในเลือด) LDL-Cholesterol
9.ตรวจเพื่อดูการทำงานของตับ SGOT
10.ตรวจเพื่อดูการทำงานของตับ SGPT
11.ตรวจหาภาวะอักเสบของร่างกาย CRP high sense
12.ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด Complete Blood Count (CBC)
13.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ FT3
14.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ FT4
15.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Thyroid Stimulating Hormone (TSH)
16.ตรวจระดับฮอร์โมนเพศหญิง E2 (Estradiol)
17.ตรวจระดับฮอร์โมนเพศชาย Testosterone
18.ตรวจฮอร์โมนความเครียด Cortisol
19.ตรวจระดับน้ำตาลในตับอ่อน insu.lin - NHS
20.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน IGF1 - NHS
21.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน DHEAS
22.ตรวจระดับกรดโฟลิก Folic acid
23.ตรวจวิตามิน บี 12 Vitamin B12
24.ตรวจไขมันสะสมทั่วร่างกาย Dexa Scan



แพคเกจ ลดน้ำหนักเฉพาะบุคคล Weight Censor
- ตรวจปริมาณระดับน้ำตาล ไขมัน ฮอร์โมนไทรอยด์
- ฮอร์โมนความเครียด โกรทฮอร์โมน ระดับวิตามินในร่างกาย เพื่อการควบคุมน้ำหนักให้ถูกวิธี
1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
3.ตรวจการทำงานของไต Creatinine plus eGFR
4.ตรวจการทำงานของไต BUN
5.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (โคเลสเตอรอล) Cholesterol
6.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไตรกลีเซอไรด์) Triglyceride
7.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไขมันดีในเลือด) HDL-Cholesterol
8.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไขมันไม่ดีในเลือด) LDL-Cholesterol
9.ตรวจเพื่อดูการทำงานของตับ SGOT
10.ตรวจเพื่อดูการทำงานของตับ SGPT
11.ตรวจหาภาวะอักเสบของร่างกาย CRP high sense
12.ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด Complete Blood Count (CBC)
13.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ FT3
14.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ FT4
15.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Thyroid Stimulating Hormone (TSH)
16.ตรวจระดับฮอร์โมนเพศหญิง E2 (Estradiol)
17.ตรวจระดับฮอร์โมนเพศหญิง Progesterone
18.ตรวจฮอร์โมนความเครียด Cortisol
19.ตรวจระดับน้ำตาลในตับอ่อน insu.lin - NHS
20.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน IGF1 - NHS
21.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน DHEAS
22.ตรวจระดับกรดโฟลิก Folic acid
23.ตรวจวิตามิน บี 12 Vitamin B12
24.ตรวจไขมันสะสมทั่วร่างกาย Dexa Scan



แพคเกจ ลดน้ำหนักเฉพาะบุคคล Weight Focus
- ตรวจ Organic Profile การเผาผลาญเมตาบอลิซึม สมดุลสารสื่อประสาท
- สมดุลจุลินทรีย์ในระบบทางเดินอาหาร และความเสื่อมของเซลล์ที่เกิดจากสารอนุมูลอิสระ
1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
3.ตรวจการทำงานของไต Creatinine plus eGFR
4.ตรวจการทำงานของไต BUN
5.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (โคเลสเตอรอล) Cholesterol
6.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไตรกลีเซอไรด์) Triglyceride
7.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไขมันดีในเลือด) HDL-Cholesterol
8.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไขมันไม่ดีในเลือด) LDL-Cholesterol
9.ตรวจเพื่อดูการทำงานของตับ SGOT
10.ตรวจเพื่อดูการทำงานของตับ SGPT
11.ตรวจหาภาวะอักเสบของร่างกาย CRP high sense
12.ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด Complete Blood Count (CBC)
13.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ FT3
14.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ FT4
15.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Thyroid Stimulating Hormone (TSH)
16.ตรวจระดับฮอร์โมนเพศหญิง E2 (Estradiol)
17.ตรวจระดับฮอร์โมนเพศชาย Testosterone
18.ตรวจฮอร์โมนความเครียด Cortisol
19.ตรวจระดับน้ำตาลในตับอ่อน insu.lin - NHS
20.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน IGF1 - NHS
21.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน DHEAS
22.ตรวจระดับกรดโฟลิก Folic acid
23.ตรวจวิตามิน บี 12 Vitamin B12
24.ตรวจไขมันสะสมทั่วร่างกาย Dexa Scan
25.ตรวจการเผาผลาญ Metebolism การเผาผลาญสารต่างๆที่นำไปสร้างพลังงานของเซลล์ สมดุลสารสื่อประสาท สมดุลจุลินทรีย์ในระบบทางเดินอาหาร ความเสื่อมของเซลล์ที่เกิดจากอนุมูลอิสระ Organic Profile



แพคเกจ ลดน้ำหนักเฉพาะบุคคล Weight Focus
- ตรวจ Organic Profile การเผาผลาญเมตาบอลิซึม สมดุลสารสื่อประสาท
- สมดุลจุลินทรีย์ในระบบทางเดินอาหาร และความเสื่อมของเซลล์ที่เกิดจากสารอนุมูลอิสระ
1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
3.ตรวจการทำงานของไต Creatinine plus eGFR
4.ตรวจการทำงานของไต BUN
5.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (โคเลสเตอรอล) Cholesterol
6.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไตรกลีเซอไรด์) Triglyceride
7.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไขมันดีในเลือด) HDL-Cholesterol
8.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไขมันไม่ดีในเลือด) LDL-Cholesterol
9.ตรวจเพื่อดูการทำงานของตับ SGOT
10.ตรวจเพื่อดูการทำงานของตับ SGPT
11.ตรวจหาภาวะอักเสบของร่างกาย CRP high sense
12.ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด Complete Blood Count (CBC)
13.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ FT3
14.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ FT4
15.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ Thyroid Stimulating Hormone (TSH)
16.ตรวจระดับฮอร์โมนเพศหญิง E2 (Estradiol)
17.ตรวจระดับฮอร์โมนเพศหญิง Progesterone
18.ตรวจฮอร์โมนความเครียด Cortisol
19.ตรวจระดับน้ำตาลในตับอ่อน insu.lin - NHS
20.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน IGF1 - NHS
21.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน DHEAS
22.ตรวจระดับกรดโฟลิก Folic acid
23.ตรวจวิตามิน บี 12 Vitamin B12
24.ตรวจไขมันสะสมทั่วร่างกาย Dexa Scan
25.ตรวจการเผาผลาญ Metebolism การเผาผลาญสารต่างๆที่นำไปสร้างพลังงานของเซลล์ สมดุลสารสื่อประสาท สมดุลจุลินทรีย์ในระบบทางเดินอาหาร ความเสื่อมของเซลล์ที่เกิดจากอนุมูลอิสระ Organic Profile



- การตรวจหากรดอินทรีย์ในปัสสาวะ (Urine Organic Profile) เป็นการตรวจเพื่อ แสดงถึงการทำงาน (metabolism) ของระบบต่างๆ ในร่างกาย ว่าปกติหรือไม่ โดยการตรวจ จะสามารถบอกได้ว่า ความต้องการวิตามินและแร่ธาตุที่จำเป็นในปฏิกิริยาต่าง ๆ ของร่างกาย การเผาผลาญสารอาหารต่าง ๆ เพื่อนำไปใช้สร้างพลังงานของเซลล์ สมดุลของสารสื่อประสาท การสัมผัส การขับสารพิษของร่างกาย สมดุลของจุลินทรีย์ในระบบทางเดินอาหาร และความ เสียหายของเซลล์ที่เกิดจากอนุมูลอิสระ จึงนับเป็นการทดสอบที่ครอบคลุมว่าร่างกายต้องการ

เตรียมตัวอย่างไรก่อนตรวจ Urine Organic Acid
1.ก่อนเก็บปัสสาวะ หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำก่อนนอน อย่างน้อย 2 ชั่วโมง
2.หลีกเลี่ยงอาหารกลุ่ม แอปเปิ้ล องุ่น ลูกเกด ลูกแพร แครนเอบร์รี่ ไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง
3.ปัสสาวะก่อนเข้านอน
4.งดทานวิตามินก่อนนอน
5.หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายก่อนการตรวจ
6.หลีกเลี่ยงการทานอาหารมื้อหนัก,บุฟเฟ่ต์ ก่อนตรวจ
Specimen Requirements
- ปัสสาวะแรกในตอนเช้า ประมาณ 10 มิลลิลิตร ก่อนรับประทานน้ำและอาหาร
- โดยก่อนเก็บปัสสาวะ 48 ชั่วโมงควรเลี่ยงเลี่ยงการรับประทาน แอปเปิ้ล องุ่น ลูกเกด ลูกแพร์ แครนเบอร์รี่ และ น้ำแครนเบอร์รี่
- ควรหลีกเสี่ยงอาหารเย็นมื้อหนัก และการออกกำลังกายหนัก ในคืนก่อนเก็บปัสสาวะ
และควรหลีกเลี่ยงอาหารเสริมกลุ่มโปรตีน สมุนไพร หรือเห็ดทางการแพทย์ชนิดต่างๆด้วย

Benefits of Urine Organic Acids Test

- ช่วยในการสืบค้นต้นตอของปัญหาสุขภาพ ที่เกิดจากความไม่สมดุลของระบบเผาผลาญของร่างกาย
- ช่วยในการวางแผนการรักษาหรือปรับสมดุลสุขภาพ ทั้งปัญหาเรื่อง การลดน้ำหนักยาก อ่อนเพลียเรื้อรัง เจ็บปวดเรื้อรัง นอนไม่หลับ อารมณ์แปรปรวน ท้องอืด ท้องเฟ้อ หรือ ลำไส้แปรปรวน
- บ่งบอกระดับความเสียหายของเซลล์ที่เกิดจากการทำลายของอนุมูลอิสระ ระดับการอักเสบเรื้อรังในระบบประสาทและสมอง ซึ่งอาจะส่งผลให้เกิดความผิดปกติเรื้อรังหลายระบบ โรคเรื้อรังต่างๆ หรือแม้แต่โรคแพ้ภูมิตัวเองในระบบต่าง
- ช่วยบ่งชี้ความต้องการวิตามิน โปรตีน และแร่ธาตุภายในร่างกายเพื่อแพทย์นำมาปรับภาวะสุขภาพเพื่อให้เกิดความสมดุล
- เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบขับสารพิษออกจากร่างกาย
- ลดความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรัง หรือโรคที่หาสาเหตุจากภายนอกไม่พบ
- ช่วยในการเลือกชนิดวิตามิน และอาหารเสริมได้ถูกต้องตามความต้องการของแต่ละบุคคล
1.Metabolism (Carbohydrate,Fatty Acid ,Vitamin B , Energy Production , Oxalate, metabolism and Urinary lithiasis) ระบบการเผาผลาญสารอาหาร(คาร์โบไฮเดรต, กรดไขมัน,
วิตามินบี, การโปรตีน )เพื่อนำไปใช้ในการสร้างพลังงานของเซลล์
2.Neurotransmitters ( Flavonoids , Neurotransmitters ,Metabolites of IDO Pathway
-Chronic inflammation , Oxidative Damage (Antioxidant Markers) สมดุลสารสื่อประสาท
3.Compounds of Bacteria overgrowth (Dysbiosis) สมดุลแบคทีเรียในลำไส้
4.Toxin and detoxification การสัมผัสสารพิษ โลหะหนักในร่างกายและการดีท็อกซ์



การมี NK Cell ที่แข็งแรง ระบบภูมิต้านทานก็แข็งแรง NK Cell (Natural Killer Cell) คือหนึ่งในเซลล์เม็ดเลือดขาว มีหน้าที่ในการทำลายเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัสและเซลล์มะเร็ง บทบาทสำคัญคือเปรียบเสมือนด่านแรกของระบบภูมิคุ้มกัน (Innate Immune System) ในการค้นหาและทำลายเซลล์มะเร็งในระยะเริ่มต้นและควบคุมการติดเชื้อไวรัสต่างๆรวมไปถึงเชื้อไวรัสโควิด 19 อีกด้วย

ประสิทธิภาพการทำงานของเม็ดเลือดขาว NK Cell จะลดลง เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ถ้าคุณมีพฤติกรรมเหล่านี้ แสดงว่าคุณกำลังทำร้าย NK Cell อยู่…
- พักผ่อนไม่เพียงพอ นอนหลับไม่ครบ 8 ชั่วโมงต่อวัน
- ไม่ออกกำลังกาย
- รับประทานอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพ
- เครียดสะสม
วิธีแก้ไขเบื้องต้น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเคยชินด้วยการ
- ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอ นอนให้ครบ 8 ชั่วโมง ปล่อยวางความเครียดและคอยหมั่นสังเกต ตรวจเช็คร่างกายตัวเองเพื่อสุขภาพที่ดี ไม่ให้ไวรัสเข้ามาทำร้ายร่างกายของเราด้วยโปรแกรมภูมิคุ้มกันของร่างกาย เพื่อหาสาเหตุและวางแผนป้องกัน

1. โปรแกรมตรวจภูมิคุ้มกันของร่างกาย เพื่อหาสาเหตุและวางแผนป้องกัน
Immunity test of the body to find the cause and plan the prevention



(Gut Microbiome) การตรวจวิเคราะห์การทำงานของระบบทางเดินอาหาร GI Effect
รู้หรือไม่ ? จุลินทรีย์ในลำไส้ของเรามีปริมาณมากถึง 100 ล้านล้านตัว มีทั้งที่เป็นตัวดี และตัวไม่ดีซึ่งมีผลต่อภาวะสุขภาพ
- น้ำหนักของ Microbiota ในร่างกายเรา 2 กิโลกรัม
- จำนวนของ Microbiota มากกว่าเซลล์ในร่างกายเรา 2 เท่า
- สายพันธ์ Gut Microbiota มากกว่า 5,000 สปีชีส์
- การตรวจจุลินทรีย์ในลำไส้
- เป็นการตรวจโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรียในร่างกายของเราที่ทำหน้าที่ย่อยอาหารและสร้างวิตามิน ช่วยปรับสมดุลให้กับร่างกาย ซึ่งมีทั้งจุลินทรีย์ตัวดีและตัวไม่ดี ถ้าโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรีย์ในลำไส้มีความสมดุล จะช่วยเสริมสร้างสมดุลที่ดี ทั้งด้านอารมณ์ การนอน การย่อยอาหาร รวมถึงความอ้วน

จุลินทรีย์ตัวดีถ้ามีมากจะช่วยเรื่อง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
จุลินทรีย์ตัวไม่ดีถ้ามีมากจะทำให้ร่างกายมีปัญหาสุขภาพเรื่อง โรคกระเพาะ กรดไหลย้อน นอนไม่หลับ ไมเกรน มะเร็ง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
หากจุลินทรีย์ในลำไส้ขาดความสมดุล ระหว่างจุลินทรีย์ที่ดีและไม่ดี ทำให้เกิดอาการหรือโรคต่างๆได้ อาทิ

- ไมเกรน
- นอนไม่หลับ
- สิวอักเสบ ACNE
- ผื่นภูมิแพ้ เป็นๆ หายๆ
- หอบ หืด
- ระบบการเผาผลาญ
- ภาวะเบาหวาน (ดื้ออินซูลิน)
- โรคอ้วน
- GI Effect
- โรคลำไส้แปรปรวน (Irritable bowel syndrome) (IBS)
- การย่อยและการดูดซึมสารอาหาร(Digestion and Absorption)
- ความเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้
ตรวจจุลินทรีย์ตัวหลัก 2 ชนิด จุลินทรีย์ตัวร้าย 4 ชนิด โปรไบโอติกส์ 5 ชนิด เพื่อหาความเสี่ยงหรือสาเหตุของอาการป่วย ดังนี้
– ภูมิแพ้จมูก น้ำมูกไหล คัดจมูก
– ผิวหนังอักเสบ ผื่น สิว
– แพ้อาหาร
– หอบหืด
– พร้อม solution เพื่อลดความเสี่ยงของอาการดังกล่าว โดยการเลือกโปรไบโอติกส์สายพันธุ์ที่เหมาะกับคุณ และคำแนะนำสำหรับการเลือกทานอาหาร และ lifestyle เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง



Gut Microbiome การตรวจวิเคราะห์การทำงานของระบบทางเดินอาหาร GI Effect
รู้หรือไม่ ? จุลินทรีย์ในลำไส้ของเรามีปริมาณมากถึง 100 ล้านล้านตัว มีทั้งที่เป็นตัวดี และตัวไม่ดีซึ่งมีผลต่อภาวะสุขภาพ

- น้ำหนักของ Microbiota ในร่างกายเรา 2 กิโลกรัม
- จำนวนของ Microbiota มากกว่าเซลล์ในร่างกายเรา 2 เท่า
- สายพันธ์ Gut Microbiota มากกว่า 5,000 สปีชีส์
- การตรวจจุลินทรีย์ในลำไส้
- เป็นการตรวจโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรียในร่างกายของเราที่ทำหน้าที่ย่อยอาหารและสร้างวิตามิน ช่วยปรับสมดุลให้กับร่างกาย ซึ่งมีทั้งจุลินทรีย์ตัวดีและตัวไม่ดี ถ้าโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรีย์ในลำไส้มีความสมดุล จะช่วยเสริมสร้างสมดุลที่ดี ทั้งด้านอารมณ์ การนอน การย่อยอาหาร รวมถึงความอ้วน

- จุลินทรีย์ตัวดีถ้ามีมากจะช่วยเรื่อง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
- จุลินทรีย์ตัวไม่ดีถ้ามีมากจะทำให้ร่างกายมีปัญหาสุขภาพเรื่อง โรคกระเพาะ กรดไหลย้อน นอนไม่หลับ ไมเกรน มะเร็ง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
หากจุลินทรีย์ในลำไส้ขาดความสมดุล ระหว่างจุลินทรีย์ที่ดีและไม่ดี ทำให้เกิดอาการหรือโรคต่างๆได้ อาทิ

- ไมเกรน
- นอนไม่หลับ
- สิวอักเสบ ACNE
- ผื่นภูมิแพ้ เป็นๆหายๆ
- หอบ หืด
- ระบบการเผาผลาญ
- ภาวะเบาหวาน (ดื้ออินซูลิน)
- โรคอ้วน
- GI Effect
- โรคลำไส้แปรปรวน (Irritable bowel syndrome) (IBS)
- การย่อยและการดูดซึมสารอาหาร(Digestion and Absorption)
- ความเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้
ตรวจจุลินทรีย์ราคาย่อมเยาว์ สำหรับผู้ที่ทานยาปฏิชีวนะบ่อย ชอบทานหวาน มัน เผ็ด และแอลกอฮอลล์ และกังวลกับสารก่อมะเร็งซึ่งผลิตโดยจุลินทรีย์ตัวร้ายในร่างกาย
ตรวจจุลินทรีย์ตัวร้าย 5 ชนิด โปรไบโอติกส์ 6 ชนิด เพื่อหาความเสี่ยงหรือสาเหตุของอาการป่วย ดังนี้
– ท้องเสีย
– ท้องผูก
– ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
– สามารถตรวจร่วมกับ Core Microbiota Panel เพื่อหาความเสี่ยงมะเร็งลำไส้อย่างชัดเจนขึ้น จากการหาความเสี่ยงลำไส้อักเสบ
– พร้อม solution เพื่อลดความเสี่ยงของอาการดังกล่าว โดยการเลือกโปรไบโอติกส์สายพันธุ์ที่เหมาะกับคุณ และคำแนะนำสำหรับการเลือกทานอาหาร และ lifestyle เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง



Gut Microbiome การตรวจวิเคราะห์การทำงานของระบบทางเดินอาหาร GI Effect
รู้หรือไม่ ? จุลินทรีย์ในลำไส้ของเรามีปริมาณมากถึง 100 ล้านล้านตัว มีทั้งที่เป็นตัวดี และตัวไม่ดีซึ่งมีผลต่อภาวะสุขภาพ

- น้ำหนักของ Microbiota ในร่างกายเรา 2 กิโลกรัม
- จำนวนของ Microbiota มากกว่าเซลล์ในร่างกายเรา 2 เท่า
- สายพันธ์ Gut Microbiota มากกว่า 5,000 สปีชีส์
- การตรวจจุลินทรีย์ในลำไส้
เป็นการตรวจโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรียในร่างกายของเราที่ทำหน้าที่ย่อยอาหารและสร้างวิตามิน ช่วยปรับสมดุลให้กับร่างกาย ซึ่งมีทั้งจุลินทรีย์ตัวดีและตัวไม่ดี ถ้าโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรีย์ในลำไส้มีความสมดุล จะช่วยเสริมสร้างสมดุลที่ดี ทั้งด้านอารมณ์ การนอน การย่อยอาหาร รวมถึงความอ้วน

- จุลินทรีย์ตัวดีถ้ามีมากจะช่วยเรื่อง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
- จุลินทรีย์ตัวไม่ดีถ้ามีมากจะทำให้ร่างกายมีปัญหาสุขภาพเรื่อง โรคกระเพาะ กรดไหลย้อน นอนไม่หลับ ไมเกรน มะเร็ง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
- หากจุลินทรีย์ในลำไส้ขาดความสมดุล ระหว่างจุลินทรีย์ที่ดีและไม่ดี ทำให้เกิดอาการหรือโรคต่างๆได้ อาทิ

- ไมเกรน
- นอนไม่หลับ
- สิวอักเสบ ACNE
- ผื่นภูมิแพ้ เป็นๆหายๆ
- หอบ หืด
- ระบบการเผาผลาญ
- ภาวะเบาหวาน (ดื้ออินซูลิน)
- โรคอ้วน
- GI Effect
- โรคลำไส้แปรปรวน (Irritable bowel syndrome) (IBS)
- การย่อยและการดูดซึมสารอาหาร(Digestion and Absorption)
- ความเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้
สำหรับผู้ที่กังวลเรื่องการเผาผลาญบกพร่อง ไขมันพอกอวัยวะ ไขมันส่วนเกิน เบาหวาน ซึ่งอาจนำไปสู่โรคหลอดเลือดและหัวใจ
ตรวจจุลินทรีย์ตัวหลัก 3 ชนิด จุลินทรีย์ตัวร้าย 3 ชนิด และโปรไบโอติกส์ 5 ชนิด เพื่อหาความเสี่ยงหรือสาเหตุของอาการป่วย ดังนี้
– น้ำหนักเกิน
– เผาผลาญบกพร่อง
– ไขมันสะสมช่องท้อง
– ดื้ออินซูลิน
– เบาหวานประเภท 2
– ไขมันพอกตับ
– สารพิษ Lipopolysaccharide (LPS) สะสมในปริมาณมาก
– พร้อม solution เพื่อลดความเสี่ยงของอาการดังกล่าว โดยการเลือกโปรไบโอติกส์สายพันธุ์ที่เหมาะกับคุณ และคำแนะนำสำหรับการเลือกทานอาหาร และ lifestyle เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง



Gut Microbiome การตรวจวิเคราะห์การทำงานของระบบทางเดินอาหาร GI Effect
รู้หรือไม่ ? จุลินทรีย์ในลำไส้ของเรามีปริมาณมากถึง 100 ล้านล้านตัว มีทั้งที่เป็นตัวดี และตัวไม่ดีซึ่งมีผลต่อภาวะสุขภาพ

- น้ำหนักของ Microbiota ในร่างกายเรา 2 กิโลกรัม
- จำนวนของ Microbiota มากกว่าเซลล์ในร่างกายเรา 2 เท่า
- สายพันธ์ Gut Microbiota มากกว่า 5,000 สปีชีส์
- การตรวจจุลินทรีย์ในลำไส้
เป็นการตรวจโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรียในร่างกายของเราที่ทำหน้าที่ย่อยอาหารและสร้างวิตามิน ช่วยปรับสมดุลให้กับร่างกาย ซึ่งมีทั้งจุลินทรีย์ตัวดีและตัวไม่ดี ถ้าโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรีย์ในลำไส้มีความสมดุล จะช่วยเสริมสร้างสมดุลที่ดี ทั้งด้านอารมณ์ การนอน การย่อยอาหาร รวมถึงความอ้วน

- จุลินทรีย์ตัวดีถ้ามีมากจะช่วยเรื่อง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
- จุลินทรีย์ตัวไม่ดีถ้ามีมากจะทำให้ร่างกายมีปัญหาสุขภาพเรื่อง โรคกระเพาะ กรดไหลย้อน นอนไม่หลับ ไมเกรน มะเร็ง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
- หากจุลินทรีย์ในลำไส้ขาดความสมดุล ระหว่างจุลินทรีย์ที่ดีและไม่ดี ทำให้เกิดอาการหรือโรคต่างๆได้ อาทิ

- ไมเกรน
- นอนไม่หลับ
- สิวอักเสบ ACNE
- ผื่นภูมิแพ้ เป็นๆหายๆ
- หอบ หืด
- ระบบการเผาผลาญ
- ภาวะเบาหวาน (ดื้ออินซูลิน)
- โรคอ้วน
- GI Effect
- โรคลำไส้แปรปรวน (Irritable bowel syndrome) (IBS)
- การย่อยและการดูดซึมสารอาหาร(Digestion and Absorption)
- ความเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้
ตรวจจุลินทรีย์ตัวหลัก 6 ชนิด จุลินทรีย์ตัวร้าย 5 ชนิด และโปรไบโอติกส์ 12 ชนิด เพื่อหาความเสี่ยงหรือสาเหตุของอาการป่วย ดังนี้
– นอนหลับยาก
– อารมณ์แปรปรวน
– ภูมิแพ้จมูกอักเสบ
– ภูมิแพ้อาหาร
– ภูมิแพ้ผิวหนัง
– ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
– หอบหืด
– น้ำหนักเกิน
– เผาผลาญบกพร่อง
– เบาหวานประเภท 2
– สารพิษ Lipopolysaccharide (LPS) สะสมในปริมาณมาก
– ท้องผูก ท้องเสีย ท้องไส้แปรปรวน
– พร้อม solution เพื่อลดความเสี่ยงของอาการดังกล่าว โดยการเลือกโปรไบโอติกส์สายพันธุ์และปริมาณที่เหมาะสำหรับคุณ และคำแนะนำสำหรับการเลือกทานอาหาร และ lifestyle เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง



Gut Microbiome การตรวจวิเคราะห์การทำงานของระบบทางเดินอาหาร GI Effect
รู้หรือไม่ ? จุลินทรีย์ในลำไส้ของเรามีปริมาณมากถึง 100 ล้านล้านตัว มีทั้งที่เป็นตัวดี และตัวไม่ดีซึ่งมีผลต่อภาวะสุขภาพ

- น้ำหนักของ Microbiota ในร่างกายเรา 2 กิโลกรัม
- จำนวนของ Microbiota มากกว่าเซลล์ในร่างกายเรา 2 เท่า
- สายพันธ์ Gut Microbiota มากกว่า 5,000 สปีชีส์
- การตรวจจุลินทรีย์ในลำไส้
เป็นการตรวจโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรียในร่างกายของเราที่ทำหน้าที่ย่อยอาหารและสร้างวิตามิน ช่วยปรับสมดุลให้กับร่างกาย ซึ่งมีทั้งจุลินทรีย์ตัวดีและตัวไม่ดี ถ้าโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรีย์ในลำไส้มีความสมดุล จะช่วยเสริมสร้างสมดุลที่ดี ทั้งด้านอารมณ์ การนอน การย่อยอาหาร รวมถึงความอ้วน

- จุลินทรีย์ตัวดีถ้ามีมากจะช่วยเรื่อง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
- จุลินทรีย์ตัวไม่ดีถ้ามีมากจะทำให้ร่างกายมีปัญหาสุขภาพเรื่อง โรคกระเพาะ กรดไหลย้อน นอนไม่หลับ ไมเกรน มะเร็ง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
- หากจุลินทรีย์ในลำไส้ขาดความสมดุล ระหว่างจุลินทรีย์ที่ดีและไม่ดี ทำให้เกิดอาการหรือโรคต่างๆได้ อาทิ

- ไมเกรน
- นอนไม่หลับ
- สิวอักเสบ ACNE
- ผื่นภูมิแพ้ เป็นๆหายๆ
- หอบ หืด
- ระบบการเผาผลาญ
- ภาวะเบาหวาน (ดื้ออินซูลิน)
- โรคอ้วน
- GI Effect
- โรคลำไส้แปรปรวน (Irritable bowel syndrome) (IBS)
- การย่อยและการดูดซึมสารอาหาร(Digestion and Absorption)
- ความเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้
ผลที่ได้จะเป็นการทราบถึงปริมาณจุลินทรีย์ในร่างกาย 5 อันดับแรก ซึ่งอาจส่งผลต่อภาวะสุขภาพ ได้แก่
– BMI and Obesity ( ภาวะอ้วน)
– Glucose Metabolism (โรคเบาหวานความเสี่ยงเกี่ยวกับภาวะดื้นอินซูลิน)
– Lipid Metabolism (กระบวนการย่อยไขมันเพื่อนำไปใช้)



Gut Microbiome การตรวจวิเคราะห์การทำงานของระบบทางเดินอาหาร GI Effect
รู้หรือไม่ ? จุลินทรีย์ในลำไส้ของเรามีปริมาณมากถึง 100 ล้านล้านตัว มีทั้งที่เป็นตัวดี และตัวไม่ดีซึ่งมีผลต่อภาวะสุขภาพ

- น้ำหนักของ Microbiota ในร่างกายเรา 2 กิโลกรัม
- จำนวนของ Microbiota มากกว่าเซลล์ในร่างกายเรา 2 เท่า
- สายพันธ์ Gut Microbiota มากกว่า 5,000 สปีชีส์
- การตรวจจุลินทรีย์ในลำไส้
เป็นการตรวจโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรียในร่างกายของเราที่ทำหน้าที่ย่อยอาหารและสร้างวิตามิน ช่วยปรับสมดุลให้กับร่างกาย ซึ่งมีทั้งจุลินทรีย์ตัวดีและตัวไม่ดี ถ้าโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรีย์ในลำไส้มีความสมดุล จะช่วยเสริมสร้างสมดุลที่ดี ทั้งด้านอารมณ์ การนอน การย่อยอาหาร รวมถึงความอ้วน

- จุลินทรีย์ตัวดีถ้ามีมากจะช่วยเรื่อง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
- จุลินทรีย์ตัวไม่ดีถ้ามีมากจะทำให้ร่างกายมีปัญหาสุขภาพเรื่อง โรคกระเพาะ กรดไหลย้อน นอนไม่หลับ ไมเกรน มะเร็ง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
- หากจุลินทรีย์ในลำไส้ขาดความสมดุล ระหว่างจุลินทรีย์ที่ดีและไม่ดี ทำให้เกิดอาการหรือโรคต่างๆได้ อาทิ

- ไมเกรน
- นอนไม่หลับ
- สิวอักเสบ ACNE
- ผื่นภูมิแพ้ เป็นๆหายๆ
- หอบ หืด
- ระบบการเผาผลาญ
- ภาวะเบาหวาน (ดื้ออินซูลิน)
- โรคอ้วน
- GI Effect
- โรคลำไส้แปรปรวน (Irritable bowel syndrome) (IBS)
- การย่อยและการดูดซึมสารอาหาร(Digestion and Absorption)
- ความเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้
– รูปแบบจุลินทรีย์
– ความหลากหลาย
– จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และจุลินทรีย์ที่มีผลเสียต่อร่างกาย
– ประสิทธิภาพการทำงานของจุลินทรีย์
– เผาผลาญสารอาหาร
– สังเคราะห์วิตามินบี
– สร้างภูมิคุ้มกันจากกรดไชมันสายสั้น
– อารมณ์และการนอนหลับ
– ระดับความเสี่ยงต่อระบบในร่างกาย
– แพ้อาหารแฝง
– โรคระบบทางเดินอาหาร เช่น ลำไส้แปรปรวน ลำไส้อักเสบ ภาวะลำไส้รั่ว มะเร็งลำไส้ใหญ่
– โรคระบบเผาผลาญสารอาหาร เช่น ไขมันพอกตับ เบาหวานชนิดที่ 2
– ภาวะอ่อนเพลียไม่มีแรง
– คำแนะนำในการปรับสมดุล
– อาหารที่ควรทานและอาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
– แนะนำเมนูอาหารไทย 1 เดือน



Gut Microbiome การตรวจวิเคราะห์การทำงานของระบบทางเดินอาหาร GI Effect
รู้หรือไม่ ? จุลินทรีย์ในลำไส้ของเรามีปริมาณมากถึง 100 ล้านล้านตัว มีทั้งที่เป็นตัวดี และตัวไม่ดีซึ่งมีผลต่อภาวะสุขภาพ

- น้ำหนักของ Microbiota ในร่างกายเรา 2 กิโลกรัม
- จำนวนของ Microbiota มากกว่าเซลล์ในร่างกายเรา 2 เท่า
- สายพันธ์ Gut Microbiota มากกว่า 5,000 สปีชีส์
- การตรวจจุลินทรีย์ในลำไส้
เป็นการตรวจโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรียในร่างกายของเราที่ทำหน้าที่ย่อยอาหารและสร้างวิตามิน ช่วยปรับสมดุลให้กับร่างกาย ซึ่งมีทั้งจุลินทรีย์ตัวดีและตัวไม่ดี ถ้าโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรีย์ในลำไส้มีความสมดุล จะช่วยเสริมสร้างสมดุลที่ดี ทั้งด้านอารมณ์ การนอน การย่อยอาหาร รวมถึงความอ้วน

- จุลินทรีย์ตัวดีถ้ามีมากจะช่วยเรื่อง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
- จุลินทรีย์ตัวไม่ดีถ้ามีมากจะทำให้ร่างกายมีปัญหาสุขภาพเรื่อง โรคกระเพาะ กรดไหลย้อน นอนไม่หลับ ไมเกรน มะเร็ง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
- หากจุลินทรีย์ในลำไส้ขาดความสมดุล ระหว่างจุลินทรีย์ที่ดีและไม่ดี ทำให้เกิดอาการหรือโรคต่างๆได้ อาทิ

- ไมเกรน
- นอนไม่หลับ
- สิวอักเสบ ACNE
- ผื่นภูมิแพ้ เป็นๆหายๆ
- หอบ หืด
- ระบบการเผาผลาญ
- ภาวะเบาหวาน (ดื้ออินซูลิน)
- โรคอ้วน
- GI Effect
- โรคลำไส้แปรปรวน (Irritable bowel syndrome) (IBS)
- การย่อยและการดูดซึมสารอาหาร(Digestion and Absorption)
- ความเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้
– รูปแบบจุลินทรีย์
– ความหลากหลาย
– จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และจุลินทรีย์ที่มีผลเสียต่อร่างกาย
– ประสิทธิภาพการทำงานของจุลินทรีย์
– เผาผลาญสารอาหาร
– สังเคราะห์วิตามินบี
– สร้างภูมิคุ้มกันจากกรดไชมันสายสั้น
– อารมณ์และการนอนหลับ
– การสร้างสารสื่อประสาท เช่น เซโรโทนิน โดพามีน เมลาโทนิน
– ระดับความเสี่ยงต่อระบบในร่างกาย
– แพ้อาหารแฝง
– โรคระบบทางเดินอาหาร เช่น ลำไส้แปรปรวน ลำไส้อักเสบ ภาวะลำไส้รั่ว มะเร็งลำไส้ใหญ่
– โรคระบบเผาผลาญสารอาหาร เช่น ไขมันพอกตับ เบาหวานชนิดที่ 2
– ภาวะอ่อนเพลียไม่มีแรง
– โรคความเสื่อม เช่น อัลไซเมอร์
– ภาวะหลอดเลือดแข็ง
– คำแนะนำในการปรับสมดุล
– อาหารที่ควรทานและอาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
– แนะนำเมนูอาหารไทย 1 เดือน



Gut Microbiome การตรวจวิเคราะห์การทำงานของระบบทางเดินอาหาร GI Effect
รู้หรือไม่ ? จุลินทรีย์ในลำไส้ของเรามีปริมาณมากถึง 100 ล้านล้านตัว มีทั้งที่เป็นตัวดี และตัวไม่ดีซึ่งมีผลต่อภาวะสุขภาพ

- น้ำหนักของ Microbiota ในร่างกายเรา 2 กิโลกรัม
- จำนวนของ Microbiota มากกว่าเซลล์ในร่างกายเรา 2 เท่า
- สายพันธ์ Gut Microbiota มากกว่า 5,000 สปีชีส์
- การตรวจจุลินทรีย์ในลำไส้
เป็นการตรวจโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรียในร่างกายของเราที่ทำหน้าที่ย่อยอาหารและสร้างวิตามิน ช่วยปรับสมดุลให้กับร่างกาย ซึ่งมีทั้งจุลินทรีย์ตัวดีและตัวไม่ดี ถ้าโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรีย์ในลำไส้มีความสมดุล จะช่วยเสริมสร้างสมดุลที่ดี ทั้งด้านอารมณ์ การนอน การย่อยอาหาร รวมถึงความอ้วน

- จุลินทรีย์ตัวดีถ้ามีมากจะช่วยเรื่อง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
- จุลินทรีย์ตัวไม่ดีถ้ามีมากจะทำให้ร่างกายมีปัญหาสุขภาพเรื่อง โรคกระเพาะ กรดไหลย้อน นอนไม่หลับ ไมเกรน มะเร็ง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
- หากจุลินทรีย์ในลำไส้ขาดความสมดุล ระหว่างจุลินทรีย์ที่ดีและไม่ดี ทำให้เกิดอาการหรือโรคต่างๆได้ อาทิ

- ไมเกรน
- นอนไม่หลับ
- สิวอักเสบ ACNE
- ผื่นภูมิแพ้ เป็นๆหายๆ
- หอบ หืด
- ระบบการเผาผลาญ
- ภาวะเบาหวาน (ดื้ออินซูลิน)
- โรคอ้วน
- GI Effect
- โรคลำไส้แปรปรวน (Irritable bowel syndrome) (IBS)
- การย่อยและการดูดซึมสารอาหาร(Digestion and Absorption)
- ความเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้
– ความสมดุลของไมโครไบโอม (Balance of Microbiome) เกี่ยวข้องกับตอบสนองการอักเสบ,สภาวะสมดุลของลำไส้,การทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน และการทำงานของสมอง เป็นต้น
– ความหลากหลายของไมโครไบโอม (Diversity of Microbiome) เกี่ยวข้องกับการเกิดโรค เช่น โรคลำไส้อักเสบ, อาการลำไส้แปรปรวน, โรคเบาหวาน และความดัน และการอักเสบต่าง ๆ เป็นต้น
– โรคลำไส้แปรปรวน (Irritable bowel syndrome) แบคทีเรียบางชนิดทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการอักเสบของลำไส้ (Protective barrier) และบางชนิดเพิ่มโอกาสให้เกิดอาการลำไส้แปรปรวน
– ภาวะอ้วน (Obesity) จุลินทรีย์บางชนิดช่วยลดน้ำหนักด้วยการลด Lipopolysaccharides ในเลือด และลดขนาดของเซลล์ไขมัน (Fat cells)
– ภาวะหลอดเลือดแข็งตัว (Arteriosclerosis) เมตาบอไลท์ที่ได้จากแบคทีเรียบางชนืดอาจส่งผลการกระตุ้นให้เกิดการอักเสบ หรือ ต้านปฏิกิริยาการอักเสบ
– โรคเรื้อรัง (Chronic Disease) จุลินทรีย์ที่ผลิตบิวทิเรต (Butyrate) มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง เป็นต้น
– โรคหัวใจ และหลอดเลือด (Cardiovascular Disease) จุลินทรีย์บางชนิดก่อให้เกิดปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับโรคหลอดเลือดหัวใจ
– ติ่งเนื้อในลำไส้ใหญ่ (Colon Polyp) การยึดเกาะ และแทรกตัวเข้าไปใต้เซลล์เยื่อบุลำไส้ใหญ่เพิ่มความเสี่ยงต่อการอักเสบ และเกิดติ่งเนื้อ



Gut Microbiome การตรวจวิเคราะห์การทำงานของระบบทางเดินอาหาร GI Effect
รู้หรือไม่ ? จุลินทรีย์ในลำไส้ของเรามีปริมาณมากถึง 100 ล้านล้านตัว มีทั้งที่เป็นตัวดี และตัวไม่ดีซึ่งมีผลต่อภาวะสุขภาพ

- น้ำหนักของ Microbiota ในร่างกายเรา 2 กิโลกรัม
- จำนวนของ Microbiota มากกว่าเซลล์ในร่างกายเรา 2 เท่า
- สายพันธ์ Gut Microbiota มากกว่า 5,000 สปีชีส์
- การตรวจจุลินทรีย์ในลำไส้
เป็นการตรวจโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรียในร่างกายของเราที่ทำหน้าที่ย่อยอาหารและสร้างวิตามิน ช่วยปรับสมดุลให้กับร่างกาย ซึ่งมีทั้งจุลินทรีย์ตัวดีและตัวไม่ดี ถ้าโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรีย์ในลำไส้มีความสมดุล จะช่วยเสริมสร้างสมดุลที่ดี ทั้งด้านอารมณ์ การนอน การย่อยอาหาร รวมถึงความอ้วน

- จุลินทรีย์ตัวดีถ้ามีมากจะช่วยเรื่อง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
- จุลินทรีย์ตัวไม่ดีถ้ามีมากจะทำให้ร่างกายมีปัญหาสุขภาพเรื่อง โรคกระเพาะ กรดไหลย้อน นอนไม่หลับ ไมเกรน มะเร็ง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
- หากจุลินทรีย์ในลำไส้ขาดความสมดุล ระหว่างจุลินทรีย์ที่ดีและไม่ดี ทำให้เกิดอาการหรือโรคต่างๆได้ อาทิ

- ไมเกรน
- นอนไม่หลับ
- สิวอักเสบ ACNE
- ผื่นภูมิแพ้ เป็นๆหายๆ
- หอบ หืด
- ระบบการเผาผลาญ
- ภาวะเบาหวาน (ดื้ออินซูลิน)
- โรคอ้วน
- GI Effect
- โรคลำไส้แปรปรวน (Irritable bowel syndrome) (IBS)
- การย่อยและการดูดซึมสารอาหาร(Digestion and Absorption)
- ความเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้
– เป็นการตรวจจุลินทรีย์ในลำไส้ (Gut Microbiome) หาการติดเชื้อ
– Metabolite Imbalance (ความไม่สมดุลของจุลินทรีย์)
– การเติบโตผิดปกติของแบคทีเรีย
– ทราบถึงการติดเชื้อในลำไส้
– ทราบถึงความไม่สมดุลของจุลินทรีย์
– ทราบถึงการเติบโตผิดปกติของแบคทีเรีย
– เหมาะสำหรับผู้ที่มีภาวะลองโควิด (Post COVID-19 Syndrome)



Gut Microbiome การตรวจวิเคราะห์การทำงานของระบบทางเดินอาหาร GI Effect
รู้หรือไม่ ? จุลินทรีย์ในลำไส้ของเรามีปริมาณมากถึง 100 ล้านล้านตัว มีทั้งที่เป็นตัวดี และตัวไม่ดีซึ่งมีผลต่อภาวะสุขภาพ

- น้ำหนักของ Microbiota ในร่างกายเรา 2 กิโลกรัม
- จำนวนของ Microbiota มากกว่าเซลล์ในร่างกายเรา 2 เท่า
- สายพันธ์ Gut Microbiota มากกว่า 5,000 สปีชีส์
- การตรวจจุลินทรีย์ในลำไส้
เป็นการตรวจโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรียในร่างกายของเราที่ทำหน้าที่ย่อยอาหารและสร้างวิตามิน ช่วยปรับสมดุลให้กับร่างกาย ซึ่งมีทั้งจุลินทรีย์ตัวดีและตัวไม่ดี ถ้าโพรไบโอติกส์ หรือจุลินทรีย์ในลำไส้มีความสมดุล จะช่วยเสริมสร้างสมดุลที่ดี ทั้งด้านอารมณ์ การนอน การย่อยอาหาร รวมถึงความอ้วน

- จุลินทรีย์ตัวดีถ้ามีมากจะช่วยเรื่อง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
- จุลินทรีย์ตัวไม่ดีถ้ามีมากจะทำให้ร่างกายมีปัญหาสุขภาพเรื่อง โรคกระเพาะ กรดไหลย้อน นอนไม่หลับ ไมเกรน มะเร็ง ทางเดินอาหาร การย่อยอาหาร สมอง ผิวหนัง และลำไส้
- หากจุลินทรีย์ในลำไส้ขาดความสมดุล ระหว่างจุลินทรีย์ที่ดีและไม่ดี ทำให้เกิดอาการหรือโรคต่างๆได้ อาทิ

- ไมเกรน
- นอนไม่หลับ
- สิวอักเสบ ACNE
- ผื่นภูมิแพ้ เป็นๆหายๆ
- หอบ หืด
- ระบบการเผาผลาญ
- ภาวะเบาหวาน (ดื้ออินซูลิน)
- โรคอ้วน
- GI Effect
- โรคลำไส้แปรปรวน (Irritable bowel syndrome) (IBS)
- การย่อยและการดูดซึมสารอาหาร(Digestion and Absorption)
- ความเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้
– ทราบถึงการย่อย หรือการดูดซึมสารอาหารผิดปกติ
– ทราบถึงน้ำย่อยจากตับอ่อนไม่เพียงพอ เกลือน้ำดีไม่เพียงพอ
– ทราบถึงความผิดปกติที่อาจเกี่ยวข้องกับการย่อยโปรตีน และเส้นใยอาหาร
– ทราบถึงความเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้
– ทราบถึงภูมิแพ้อาหาร ภูมิแพ้ที่ผิวหนัง
– ทราบถึงความเสี่ยงโรคเกี่ยวกับเยื่อบุผนังลำไส้

การตรวจเทโลเมียร์ คืออะไร
เป็นการตรวจลึกถึงระดับเซลล์และโครโมโซม โดยเป็นการตรวจวัดความยาวของ DNA ส่วนปลายสุดของโครโมโซม ซึ่งสามารถใช้บ่งชี้อายุของเซลล์ตามชีวภาพ (Biological age) และบอกภาวะเสื่อมของเซลล์ (Degenerative status) ที่เกิดขึ้นก่อนวัย ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคในอนาคต เพื่อเป็นประโยชน์ในการดูแลรักษาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีสุขภาพดีและมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น

ซึ่งโดยกลไกตามธรรมชาติของมนุษย์นั้น เทโลเมียร์จะค่อยๆ หดสั้นลงในทุกวัน เพียงแต่หดสั้นมากน้อยแค่ไหน…ขึ้นกับไลฟ์สไตล์ของแต่ละบุคคล โดยเซลล์ที่มีเทโลเมียร์ยาวจะมีอายุหรือทำหน้าที่ได้นานกว่าเซลล์ที่เทโลเมียร์สั้น (งานวิจัยนี้ได้รับรางวัลโนเบลล์สาขาแพทย์ปี 2009)

การตรวจเทโลเมียร์ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยในปัจจุบัน ทำให้เราสามารถวัดความยาวของเทโลเมียร์ได้จากการตรวจเลือด ซึ่งการรู้ความยาวของเทโลเมียร์จะบอกได้ว่าร่างกายมีภาวะความเสื่อมเกินกว่าคนปกติหรือไม่ ถ้าหากคุณมีความยาวเทโลเมียร์ที่สั้น คุณจะเสี่ยงต่อการเกิดโรคร้ายมากกว่า และอาจมีอายุขัยสั้นกว่าคนปกติ
- ตรวจความยาวเทโลเมียร์ วัดอายุและความเสื่อมของเซลล์ Telomere Length



ทำไมต้องตรวจสุขภาพก่อนการออกกำลังกาย?
- เพื่อเช็กความฟิตของร่างกายก่อนออกกำลังกาย
- ประเมินความเสี่ยงและความพร้อมของร่างกาย
- เพื่อตรวจหาความเสี่ยงการบาดเจ็บ
รายการตรวจ
1.Physical Examination / ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
2.DHEA-S / ตรวจระดับฮอร์โมนต้านความเครียด
3.insu.lin / ตรวจระดับน้ำตาลในตับอ่อน
4.IGF1 / ตรวจฮอร์โมนแสดงอายุจริงในร่างกาย
5.Urine CTX-II / ตรวจหาความเสี่ยงข้อเข่าเสื่อม
6.TSH (Thyroid Stimulating hormone) / ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์
7.C-Reactive Protein (hsCRP) / ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย
8.Testosterone / ตรวจระดับฮอร์โมนเพศ
9.Vitamin D Total / ตรวจระดับวิตามินดี



รายละเอียดแพ็กเกจ
อ่อนเพลีย ไม่สดชื่น เหนื่อยง่าย สมองล้า นอนไม่หลับ เครียดสะสม มีอาการอักเสบ ปวดเรื้อรัง ไม่ทราบสาเหตุ สัญญาณความผิดปกติของร่างกายที่ขาดสมดุล ONDAMED คลื่นไฟฟ้าพลังงานต่ำ (Plused Electromagnetic Fields Therapy หรือ PEMF ช่วยปรับสมดุลให้ร่างกาย โดยการกระตุ้นให้เซลล์ในร่างกายเกิดการซ่อมแซมตัวเองในการแก้ปัญหาสุขภาพที่ต้นเหตุและทำให้เซลล์มีพลังงานเพิ่มขึ้น ปลอดภัย ไม่เจ็บ ไม่ใช้ยา หรือสารเคมี ไม่มีผลข้างเคียง ONDAMED ได้รับการยอมรับ มีการศึกษาวิจัยถึงประสิทธิผลโดยเฉพาะการบำบัดคนไข้กลุ่มโรคเรื้อรัง
* อาการปวดเรื้อรัง
* ภูมิแพ้
* ปลายประสาทอักเสบ (Neuropathy)
* แก้ปัญหาการนอนหลับ ปรับคลื่นสมอง เดลต้าเวฟ (Delta Wave) ช่วยให้ผ่อนคลาย นอนหลับ สบายขึ้น
รายการตรวจ
1. พบแพทย์เวชศาสตร์ชะลอวัย เพื่อซักประวัติและค้นหาสาเหตุของอาการป่วย
2. รับการรักษาด้วยเครื่อง Ondamed
ระยะเวลาในการรับบริการรักษาประมาณ 30 – 45 นาที (ขึ้นอยู่กับปัญหาสุขภาพ )
3. ระหว่างการรับบริการรักษาด้วยเครื่อง Ondamed งดการใช้โทรศัพท์มือถือ Smart Phone



รายละเอียดแพ็กเกจ
อ่อนเพลีย ไม่สดชื่น เหนื่อยง่าย สมองล้า นอนไม่หลับ เครียดสะสม มีอาการอักเสบ ปวดเรื้อรัง ไม่ทราบสาเหตุ สัญญาณความผิดปกติของร่างกายที่ขาดสมดุล ONDAMED คลื่นไฟฟ้าพลังงานต่ำ (Plused Electromagnetic Fields Therapy หรือ PEMF ช่วยปรับสมดุลให้ร่างกาย โดยการกระตุ้นให้เซลล์ในร่างกายเกิดการซ่อมแซมตัวเองในการแก้ปัญหาสุขภาพที่ต้นเหตุและทำให้เซลล์มีพลังงานเพิ่มขึ้น ปลอดภัย ไม่เจ็บ ไม่ใช้ยา หรือสารเคมี ไม่มีผลข้างเคียง ONDAMED ได้รับการยอมรับ มีการศึกษาวิจัยถึงประสิทธิผลโดยเฉพาะการบำบัดคนไข้กลุ่มโรคเรื้อรัง
* อาการปวดเรื้อรัง
* ภูมิแพ้
* ปลายประสาทอักเสบ (Neuropathy)
* แก้ปัญหาการนอนหลับ ปรับคลื่นสมอง เดลต้าเวฟ (Delta Wave) ช่วยให้ผ่อนคลาย นอนหลับ สบายขึ้น
รายการตรวจ
1. พบแพทย์เวชศาสตร์ชะลอวัย เพื่อซักประวัติและค้นหาสาเหตุของอาการป่วย
2. รับการรักษาด้วยเครื่อง Ondamed
ระยะเวลาในการรับบริการรักษาประมาณ 30 – 45 นาที (ขึ้นอยู่กับปัญหาสุขภาพ )
3. ระหว่างการรับบริการรักษาด้วยเครื่อง Ondamed งดการใช้โทรศัพท์มือถือ Smart Phone



รายละเอียดแพ็กเกจ
อ่อนเพลีย ไม่สดชื่น เหนื่อยง่าย สมองล้า นอนไม่หลับ เครียดสะสม มีอาการอักเสบ ปวดเรื้อรัง ไม่ทราบสาเหตุ สัญญาณความผิดปกติของร่างกายที่ขาดสมดุล ONDAMED คลื่นไฟฟ้าพลังงานต่ำ (Plused Electromagnetic Fields Therapy หรือ PEMF ช่วยปรับสมดุลให้ร่างกาย โดยการกระตุ้นให้เซลล์ในร่างกายเกิดการซ่อมแซมตัวเองในการแก้ปัญหาสุขภาพที่ต้นเหตุและทำให้เซลล์มีพลังงานเพิ่มขึ้น ปลอดภัย ไม่เจ็บ ไม่ใช้ยา หรือสารเคมี ไม่มีผลข้างเคียง ONDAMED ได้รับการยอมรับ มีการศึกษาวิจัยถึงประสิทธิผลโดยเฉพาะการบำบัดคนไข้กลุ่มโรคเรื้อรัง
* อาการปวดเรื้อรัง
* ภูมิแพ้
* ปลายประสาทอักเสบ (Neuropathy)
* แก้ปัญหาการนอนหลับ ปรับคลื่นสมอง เดลต้าเวฟ (Delta Wave) ช่วยให้ผ่อนคลาย นอนหลับ สบายขึ้น
รายการตรวจ
1. พบแพทย์เวชศาสตร์ชะลอวัย เพื่อซักประวัติและค้นหาสาเหตุของอาการป่วย
2. รับการรักษาด้วยเครื่อง Ondamed
ระยะเวลาในการรับบริการรักษาประมาณ 30 – 45 นาที (ขึ้นอยู่กับปัญหาสุขภาพ )
3. ระหว่างการรับบริการรักษาด้วยเครื่อง Ondamed งดการใช้โทรศัพท์มือถือ Smart Phone



การมีสุขภาพที่ดีเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในช่วงวัยนี้ เพราะสุขภาพที่ไม่ดีอาจนำไปสู่ปัญหาต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคุณในอนาคต
รายการตรวจ
1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
2. วัดความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง Vital Sign
3. ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด (CBC)
4. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (FBS)
5. ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด (HbA1C)
6. ตรวจระดับไขมันในเลือด (Total Cholesterol)
7. ตรวจระดับไขมันในเลือด (HDL-Cholesterol)
8. ตรวจระดับไขมันในเลือด (LDL-Cholesterol)
9. ตรวจระดับไขมันในเลือด (Triglyceride)
10. ตรวจการทำงานของไต (BUN)
11. ตรวจการทำงานของไต (Creatinine)
12. ตรวจการทำงานของตับ (SGOT)
13. ตรวจการทำงานของตับ (SGPT)
14. ตรวจการทำงานของตับ (Alk Phosphatase)
15. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ (TSH)
16. ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด - โรคเก๊าท์ (Uric Acid)
17. ตรวจปัสสาวะ (UA)
18. เอกซเรย์ปอด (Chest X-ray)
19. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)
20. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด (U/S Whole Abdomen)
21. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ (CEA)
22. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ (AFP)
หมายเหตุ
1. ราคาดังกล่าว รวมค่าแพทย์และค่าบริการเรียบร้อยแล้ว
2. ราคาดังกล่าว ไม่รวมกรณีตรวจพบความผิดปกติ หากจำเป็นต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยและรักษาเพิ่มเติม คิดอัตราค่าบริการเพิ่มตามจริง
3. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับการตรวจที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปเท่านั้น
4. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับบริการชาวไทย หรือชาวต่างชาติที่ทำงานในไทย (Expat) หรือแต่งงานมีครอบครัวเป็นชาวไทยเท่านั้น
5. กรุณางดอาหารและน้ำดื่มก่อนเข้ารับการตรวจ อย่างน้อย 8-12 ชั่วโมง (สามารถดื่มน้ำเปล่าได้)
6. เพื่อความสะดวกในการเข้ารับบริการ กรุณานัดหมายล่วงหน้า ได้ที่ application Health up หรือ Phyathai Call Center 1772
7. สามารถเข้ารับบริการได้ถึงวันที่ 31 ธ.ค. 2568
8. กรุณาแสดง ใบยืนยันคำสั่งซื้อ หรือแจ้งเลขออเดอร์ ก่อนเข้ารับบริการตรวจ


การมีสุขภาพที่ดีเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในช่วงวัยนี้ เพราะสุขภาพที่ไม่ดีอาจนำไปสู่ปัญหาต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคุณในอนาคต
รายการตรวจ

1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
2. วัดความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง Vital Sign
3. ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด (CBC)
4. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (FBS)
5. ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด (HbA1C)
6. ตรวจระดับไขมันในเลือด (Total Cholesterol)
7. ตรวจระดับไขมันในเลือด (HDL-Cholesterol)
8. ตรวจระดับไขมันในเลือด (LDL-Cholesterol)
9. ตรวจระดับไขมันในเลือด (Triglyceride)
10. ตรวจการทำงานของไต (BUN)
11. ตรวจการทำงานของไต (Creatinine)
12. ตรวจการทำงานของตับ (SGOT)
13. ตรวจการทำงานของตับ (SGPT)
14. ตรวจการทำงานของตับ (Alk Phosphatase)
15. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ (TSH)
16. ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด - โรคเก๊าท์ (Uric Acid)
17. ตรวจปัสสาวะ (UA)
18. เอกซเรย์ปอด (Chest X-ray)
19. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)
20. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด (U/S Whole Abdomen)
21. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ (CEA)
22. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ (AFP)
หมายเหตุ
1. ราคาดังกล่าว รวมค่าแพทย์และค่าบริการเรียบร้อยแล้ว
2. ราคาดังกล่าว ไม่รวมกรณีตรวจพบความผิดปกติ หากจำเป็นต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยและรักษาเพิ่มเติม คิดอัตราค่าบริการเพิ่มตามจริง
3. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับการตรวจที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปเท่านั้น
4. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับบริการชาวไทย หรือชาวต่างชาติที่ทำงานในไทย (Expat) หรือแต่งงานมีครอบครัวเป็นชาวไทยเท่านั้น
5. กรุณางดอาหารและน้ำดื่มก่อนเข้ารับการตรวจ อย่างน้อย 8-12 ชั่วโมง (สามารถดื่มน้ำเปล่าได้)
6. เพื่อความสะดวกในการเข้ารับบริการ กรุณานัดหมายล่วงหน้า ได้ที่ application Health up หรือ Phyathai Call Center 1772
7. สามารถเข้ารับบริการได้ถึงวันที่ 31 ธ.ค. 2568
8. กรุณาแสดง ใบยืนยันคำสั่งซื้อ หรือแจ้งเลขออเดอร์ ก่อนเข้ารับบริการตรวจ


การมีสุขภาพที่ดีเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในช่วงวัยนี้ เพราะสุขภาพที่ไม่ดีอาจนำไปสู่ปัญหาต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคุณในอนาคต
รายการตรวจ
1. ชักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์
2. ตรวจวัดพื้นฐาน, วัดสัญญาณชีพ, หาค่าดัชนีมวลกาย (Vital Signs, BMI)
3. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
4. ตรวจระดับน้ําตาลในเลือด (FBS)
5. ตรวจระดับนํ้าตาลสะสมในเลือด (HbA1c)
6. ตรวจระดับไขมันในเลือด (Total Cholesterol)
7. ตรวจระดับไขมันดีในเลือด (HDL)
8. ตรวจระดับไขมันไม่ดีในเลือด (LDL)
9. ตรวจระดับไขมันในเลือด (Triglyceride)
10. ตรวจการทํางานของไต (BUN)
11. ตรวจการทํางานของไต (Creatinine)
12. ตรวจการทํางานของตับ (SGOT)
13. ตรวจการทํางานของตับ (SGPT)
14. ตรวจการทํางานของตับ (Alk Phosphatase)
15. ตรวจการทํางานของต่อมไทรอยด์ (TSH)
16. ตรวจกรดยูริค - โรคเก๊าท์ (Uric Acid)
17. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งล่าไส้ (CEA)
18. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ (AFP)
19. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน (CA19-9)
20. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก (PSA)
21. ตรวจอัลตร้าซาวด์ไทรอยด์ (Ultrasound Thyroid)
22. ตรวจปัสสาวะ (UA)
23. ตรวจอัลตราซาวด์ช่องท้องทั้งหมด (Ultrasound Whole Abdomen)
24. เอกซเรย์ปอดและหัวใจ (Chest X-ray)
25. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)
26. ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน (Exercise Stress Test)
หมายเหตุ
1. ราคาดังกล่าว รวมค่าแพทย์และค่าบริการเรียบร้อยแล้ว
2. ราคาดังกล่าว ไม่รวมกรณีตรวจพบความผิดปกติ หากจำเป็นต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยและรักษาเพิ่มเติม คิดอัตราค่าบริการเพิ่มตามจริง
3. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับการตรวจที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปเท่านั้น
4. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับบริการชาวไทย หรือชาวต่างชาติที่ทำงานในไทย (Expat) หรือแต่งงานมีครอบครัวเป็นชาวไทยเท่านั้น
5. กรุณางดอาหารและน้ำดื่มก่อนเข้ารับการตรวจ อย่างน้อย 8-12 ชั่วโมง (สามารถดื่มน้ำเปล่าได้)
6. เพื่อความสะดวกในการเข้ารับบริการ กรุณานัดหมายล่วงหน้า ได้ที่ application Health up หรือ Phyathai Call Center 1772
7. สามารถเข้ารับบริการได้ถึงวันที่ 31 ธ.ค. 2568
8. กรุณาแสดง ใบยืนยันคำสั่งซื้อ หรือแจ้งเลขออเดอร์ ก่อนเข้ารับบริการตรวจ


การมีสุขภาพที่ดีเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในช่วงวัยนี้ เพราะสุขภาพที่ไม่ดีอาจนำไปสู่ปัญหาต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคุณในอนาคต
รายการตรวจ
1. ชักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์
2. ตรวจวัดพื้นฐาน, วัดสัญญาณชีพ, หาค่าดัชนีมวลกาย (Vital Signs, BMI)
3. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
4. ตรวจระดับน้ําตาลในเลือด (FBS)
5. ตรวจระดับนํ้าตาลสะสมในเลือด (HbA1c)
6. ตรวจระดับไขมันในเลือด (Total Cholesterol)
7. ตรวจระดับไขมันดีในเลือด (HDL)
8. ตรวจระดับไขมันไม่ดีในเลือด (LDL)
9. ตรวจระดับไขมันในเลือด (Triglyceride)
10. ตรวจการทํางานของไต (BUN)
11. ตรวจการทํางานของไต (Creatinine)
12. ตรวจการทํางานของตับ (SGOT)
13. ตรวจการทํางานของตับ (SGPT)
14. ตรวจการทํางานของตับ (Alk Phosphatase)
15. ตรวจการทํางานของต่อมไทรอยด์ (TSH)
16. ตรวจกรดยูริค - โรคเก๊าท์ (Uric Acid)
17. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งล่าไส้ (CEA)
18. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ (AFP)
19. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน (CA19-9)
20. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่ (CA125)
21. ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ด้วยเครื่องดิจิตอลแมมโมแกรม (Digital Mammogram)
22. พบแพทย์เฉพาะทางรักษ์เต้า ฺ(Breast Physical Examination)
23. ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Thin prep)
24. พบแพทย์เฉพาะทางสูตินรีเวช (Gynecologist Physician Examination)
25. ตรวจปัสสาวะ (UA)
26. ตรวจอัลตราซาวด์ช่องท้องทั้งหมด (Ultrasound Whole Abdomen)
27. เอกซเรย์ปอดและหัวใจ (Chest X-ray)
28. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)
29. ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน (Exercise Stress Test)

หมายเหตุ
1. ราคาดังกล่าว รวมค่าแพทย์และค่าบริการเรียบร้อยแล้ว
2. ราคาดังกล่าว ไม่รวมกรณีตรวจพบความผิดปกติ หากจำเป็นต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยและรักษาเพิ่มเติม คิดอัตราค่าบริการเพิ่มตามจริง
3. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับการตรวจที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปเท่านั้น
4. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับบริการชาวไทย หรือชาวต่างชาติที่ทำงานในไทย (Expat) หรือแต่งงานมีครอบครัวเป็นชาวไทยเท่านั้น
5. กรุณางดอาหารและน้ำดื่มก่อนเข้ารับการตรวจ อย่างน้อย 8-12 ชั่วโมง (สามารถดื่มน้ำเปล่าได้)
6. เพื่อความสะดวกในการเข้ารับบริการ กรุณานัดหมายล่วงหน้า ได้ที่ application Health up หรือ Phyathai Call Center 1772
7. สามารถเข้ารับบริการได้ถึงวันที่ 31 ธ.ค. 2568
8. กรุณาแสดง ใบยืนยันคำสั่งซื้อ หรือแจ้งเลขออเดอร์ ก่อนเข้ารับบริการตรวจ


การมีสุขภาพที่ดีเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในช่วงวัยนี้ เพราะสุขภาพที่ไม่ดีอาจนำไปสู่ปัญหาต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคุณในอนาคต
รายการตรวจ
1.ชักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์
2.ตรวจวัดพื้นฐาน, วัดสัญญาณชีพ, หาค่าดัชนีมวลกาย (Vital Signs, BMI)
3.ตรวจสุขภาพตาโดยจักษุแพทย์ (Eye Examination by Ophthalmologist)
4.เครื่องตรวจวิเคราะห์ภาพตัดขวาง จอประสาทตา (Optical Coherence Tomography)
5.ตรวจวัดความดันลูกตา (Tonometer Without Contact)
6.ตรวจตาด้วยเครื่อง Slit Lamp โดยจักษุแพทย์ (Slit Lamp)
7.ตรวจการได้ยินโดยผู้เชี่ยวชาญ (Audiologist)
8.ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
9.ตรวจระดับน้ําตาลในเลือด (FBS)
10.ตรวจระดับนํ้าตาลสะสมในเลือด (HbA1c)
11.ตรวจระดับไขมันในเลือด (Total Cholesterol)
12.ตรวจระดับไขมันดีในเลือด (HDL)
13.ตรวจระดับไขมันไม่ดีในเลือด (LDL)
14.ตรวจระดับไขมันในเลือด (Triglyceride)
15.ตรวจการทํางานของไต (BUN)
16.ตรวจการทํางานของไต (Creatinine plus GFR)
17.ตรวจระดับกรดยูริค (Uric Acid)
18.ตรวจการทํางานของตับ (SGOT)
19.ตรวจการทํางานของตับ (SGPT)
20.ตรวจการทํางานของตับ (GGT)
21.ตรวจการทํางานของตับ (Alk Phosphatase)
22.ตรวจการทํางานของตับ (Total Protein)
23.ตรวจการทํางานของตับ ( Total Bilirubin)
24.ตรวจการทํางานของตับ (Direct Bilirubin)
25.ตรวจฮอร์โมนไทรอยด์ (TSH)
26.ตรวจฮอร์โมนไทรอยด์ (Free T3)
27.ตรวจฮอร์โมนไทรอยด์ (Free T4)
28.ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก (PSA)
29.ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งลําไส้ใหญ่ (CEA)
30.ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งตับ (AFP)
31.ตรวจปัสสาวะอย่างสมบูรณ์ (Urine Exam)
32.ตรวจอัลตราซาวด์ช่องท้องทั้งหมด (Ultrasound Whole Abdomen)
33.เอกชเรย์ปอดและหัวใจ (Chest X-ray)
34.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)
35.ตรวจวัดการแข็งตัวของหลอดเลือด (ABI)
36.ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน (Exercise Stress Test)
37.ตรวจหลอดเลือดคอที่ไปเลี้ยงสมอง (Carotid Doppler)
38.ตรวจอัลตร้าซาวด์ไทรอยด์ (Ultrasound Neck & Thyroid)
39.ตรวจภาวะกระดูกพรุน (Bone Densitometry)
หมายเหตุ
1. ราคาดังกล่าว รวมค่าแพทย์และค่าบริการเรียบร้อยแล้ว
2. ราคาดังกล่าว ไม่รวมกรณีตรวจพบความผิดปกติ หากจำเป็นต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยและรักษาเพิ่มเติม คิดอัตราค่าบริการเพิ่มตามจริง
3. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับการตรวจที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปเท่านั้น
4. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับบริการชาวไทย หรือชาวต่างชาติที่ทำงานในไทย (Expat) หรือแต่งงานมีครอบครัวเป็นชาวไทยเท่านั้น
5. กรุณางดอาหารและน้ำดื่มก่อนเข้ารับการตรวจ อย่างน้อย 8-12 ชั่วโมง (สามารถดื่มน้ำเปล่าได้)
6. เพื่อความสะดวกในการเข้ารับบริการ กรุณานัดหมายล่วงหน้า ได้ที่ application Health up หรือ Phyathai Call Center 1772
7. สามารถเข้ารับบริการได้ถึงวันที่ 31 ธ.ค. 2568
8. กรุณาแสดง ใบยืนยันคำสั่งซื้อ หรือแจ้งเลขออเดอร์ ก่อนเข้ารับบริการตรวจ


การมีสุขภาพที่ดีเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในช่วงวัยนี้ เพราะสุขภาพที่ไม่ดีอาจนำไปสู่ปัญหาต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคุณในอนาคต
รายการตรวจ
1.ชักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์
2.ตรวจวัดพื้นฐาน, วัดสัญญาณชีพ, หาค่าดัชนีมวลกาย (Vital Signs, BMI)
3.ตรวจสุขภาพตาโดยจักษุแพทย์ (Eye Examination by Ophthalmologist)
4.เครื่องตรวจวิเคราะห์ภาพตัดขวาง จอประสาทตา (Optical Coherence Tomography)
5.ตรวจวัดความดันลูกตา (Tonometer Without Contact)
6.ตรวจตาด้วยเครื่อง Slit Lamp โดยจักษุแพทย์ (Slit Lamp)
7.ตรวจการได้ยินโดยผู้เชี่ยวชาญ (Audiologist)
8.ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ด้วยเครื่องดิจิตอลแมมโมแกรม (Digital Mammogram)
9.พบแพทย์เฉพาะทางรักษ์เต้า (Breast Physical Examination)
10.ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Thin prep)
11.พบแพทย์เฉพาะทางสูตินรีเวช (Gynecologist Physician Examination)
12.ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
13. ตรวจระดับน้ําตาลในเลือด (FBS)
14.ตรวจระดับนํ้าตาลสะสมในเลือด (HbA1c)
15.ตรวจระดับไขมันในเลือด (Total Cholesterol)
16.ตรวจระดับไขมันดีในเลือด (HDL)
17.ตรวจระดับไขมันไม่ดีในเลือด (LDL)
18.ตรวจระดับไขมันในเลือด (Triglyceride)
19.ตรวจการทํางานของไต (BUN)
20.ตรวจการทํางานของไต (Creatinine plus GFR)
21.ตรวจระดับกรดยูริค (Uric Acid)
22.ตรวจการทํางานของตับ (SGOT)
23.ตรวจการทํางานของตับ (SGPT)
24.ตรวจการทํางานของตับ (GGT)
25.ตรวจการทํางานของตับ (Alk Phosphatase)
26.ตรวจการทํางานของตับ (Total Protein)
27.ตรวจการทํางานของตับ ( Total Bilirubin)
28.ตรวจการทํางานของตับ (Direct Bilirubin)
29.ตรวจฮอร์โมนไทรอยด์ (TSH)
30.ตรวจฮอร์โมนไทรอยด์ (Free T3)
31.ตรวจฮอร์โมนไทรอยด์ (Free T4)
32.ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งลําไส้ใหญ่ (CEA)
33.ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งตับ (AFP)
34.ตรวจปัสสาวะอย่างสมบูรณ์ (Urine Exam)
35.ตรวจอัลตราซาวด์ช่องท้องทั้งหมด (Ultrasound Whole Abdomen)
36.เอกชเรย์ปอดและหัวใจ (Chest X-ray)
37.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)
38.ตรวจวัดการแข็งตัวของหลอดเลือด (ABI)
39.ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน (Exercise Stress Test)
40.ตรวจหลอดเลือดคอที่ไปเลี้ยงสมอง (Carotid Doppler)
41.ตรวจอัลตร้าซาวด์ไทรอยด์ (Ultrasound Neck & Thyroid)
42.ตรวจภาวะกระดูกพรุน (Bone Densitometry)

หมายเหตุ
1. ราคาดังกล่าว รวมค่าแพทย์และค่าบริการเรียบร้อยแล้ว
2. ราคาดังกล่าว ไม่รวมกรณีตรวจพบความผิดปกติ หากจำเป็นต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยและรักษาเพิ่มเติม คิดอัตราค่าบริการเพิ่มตามจริง
3. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับการตรวจที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปเท่านั้น
4. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับบริการชาวไทย หรือชาวต่างชาติที่ทำงานในไทย (Expat) หรือแต่งงานมีครอบครัวเป็นชาวไทยเท่านั้น
5. กรุณางดอาหารและน้ำดื่มก่อนเข้ารับการตรวจ อย่างน้อย 8-12 ชั่วโมง (สามารถดื่มน้ำเปล่าได้)
6. เพื่อความสะดวกในการเข้ารับบริการ กรุณานัดหมายล่วงหน้า ได้ที่ application Health up หรือ Phyathai Call Center 1772
7. สามารถเข้ารับบริการได้ถึงวันที่ 31 ธ.ค. 2568
8. กรุณาแสดง ใบยืนยันคำสั่งซื้อ หรือแจ้งเลขออเดอร์ ก่อนเข้ารับบริการตรวจ


การตรวจสุขภาพสำหรับผู้ชาย อายุ 60-69 ปี เน้นการตรวจร่างกายและการทำงานอวัยวะต่างๆ อย่างละเอียด เพราะถือเป็นวัยที่เกิดความเสื่อต่าง ๆ ในร่างกาย ในวัยนี้การตรวจสุขภาพต้องเน้นไปที่โรคที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของอวัยวะต่างๆเช่น หัวใจ ไต ช่องท้อง กระดูกพรุน มะเร็งต่อมลูกหมาก ฮอร์โมนต่าง ๆ มะเร็งลำไส้ ทุกๆ ปี ควรตรวจอุจจาระเพื่อดูว่ามีเลือดปนเปื้อนออกมาหรือเปล่า พร้อมทั้งดูในเรื่องของ ตา และการได้ยิน เป็นต้น
รายการตรวจ
1.ชักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์
2.ตรวจวัดพื้นฐาน, วัดสัญญาณชีพ, หาค่าดัชนีมวลกาย (Vital Signs, BMI)
3.เอกซเรย์ปอดและหัวใจ (Chest Xray)
4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)
5.ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Exercise Stress Test or Echocardiography)*เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
6.ตรวจวัดการแข็งตัวของหลอดเลือด (ABI)
7.ตรวจอัลตราซาวด์ช่องท้องทั้งหมด (Ultrasound Whole Abdomen)
8.ตรวจอัลตร้าซาวด์ไทรอยด์ (Ultrasound Neck&Thyroid)
9.ตรวจภาวะกระดูกพรุน (Bone Densitometry)
10.ตรวจสุขภาพตาโดยจักษุแพทย์ (Eye Examination by Ophthalmologist)
11.เครื่องตรวจวิเคราะห์ภาพตัดขวาง จอประสาทตา (Optical Coherence Tomography)
12.ตรวจวัดความดันลูกตา (Tonometer Without Contact)
13.ตรวจตาด้วยเครื่อง Slit Lamp โดยจักษุแพทย์ (Slit Lamp)
14.ตรวจการได้ยินโดยผู้เชี่ยวชาญ (Audiologist)
15. ตรวจปัสสาวะ (UA)
16. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
17.ตรวจระดับน้ําตาลในเลือด (FBS)
18.ตรวจระดับนํ้าตาลสะสมในเลือด (HbA1c)
19.ตรวจการทํางานของไต (BUN)
20. ตรวจการทํางานของไต (Creatinine plus GFR)
21. ตรวจการทํางานของตับ (SGOT)
22.ตรวจการทํางานของตับ (SGPT)
23.ตรวจการทํางานของตับ (GGT)
24.ตรวจการทํางานของตับ (Alk Phosphatase)
25.ตรวจการทํางานของตับ (Total Protein)
26.ตรวจการทํางานของตับ (Albumin)
27.ตรวจการทํางานของตับ ( Total Bilirubin)
28.ตรวจการทํางานของตับ (Direct Bilirubin)
29ตรวจหาสารบ่งชี้การอักเสบของหลอดเลือดแดง (hsCRP)
30.ตรวจปริมาณเกลือแร่ในเลือด (Sodium)
31.ตรวจปริมาณเกลือแร่ในเลือด (Potassium)
32.ตรวจปริมาณเกลือแร่ในเลือด (Chloride)
33.ตรวจปริมาณเกลือแร่ในเลือด (CO2)
34.ตรวจระดับไขมันในเลือด (Total Cholesterol)
35.ตรวจระดับไขมันดีในเลือด (HDL)
36.ตรวจระดับไขมันไม่ดีในเลือด (LDL)
37.ตรวจระดับไขมันในเลือด (Triglyceride)
38.ตรวจระดับกรดยูริคในเลือด (Uric Acid)
39.ตรวจการทํางานของต่อมไทรอยด์ (TSH)
40.ตรวจการทํางานของต่อมไทรอยด์ (Free T3)
41.ตรวจการทํางานของต่อมไทรอยด์ (Free T4)
42.ตรวจระดับฮอร์โมนเพศชาย (Testosterone)
43.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก (PSA)
44.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร (CEA)
45.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ (AFP)
46.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน (CA199)
47.ตรวจระดับกรดโฟลิก (Folic Acid)
48.ตรวจวิตามิน บี 12 (Vitamin B12)
49.ตรวจระดับวิตามินดี (Vitamin D)
50. ตรวจอุจจาระ (Stool Examination)
51. ตรวจภาวะเลือดออกในอุจจาระ (Occult Blood)

หมายเหตุ
1. ราคาดังกล่าว รวมค่าแพทย์และค่าบริการเรียบร้อยแล้ว
2. ราคาดังกล่าว ไม่รวมกรณีตรวจพบความผิดปกติ หากจำเป็นต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยและรักษาเพิ่มเติม คิดอัตราค่าบริการเพิ่มตามจริง
3. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับการตรวจที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปเท่านั้น
4. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับบริการชาวไทย หรือชาวต่างชาติที่ทำงานในไทย (Expat) หรือแต่งงานมีครอบครัวเป็นชาวไทยเท่านั้น
5. กรุณางดอาหารและน้ำดื่มก่อนเข้ารับการตรวจ อย่างน้อย 8-12 ชั่วโมง (สามารถดื่มน้ำเปล่าได้)
6. เพื่อความสะดวกในการเข้ารับบริการ กรุณานัดหมายล่วงหน้า ได้ที่ application Health up หรือ Phyathai Call Center 1772
7. สามารถเข้ารับบริการได้ถึงวันที่ 31 ธ.ค. 2568
8. กรุณาแสดง ใบยืนยันคำสั่งซื้อ หรือแจ้งเลขออเดอร์ ก่อนเข้ารับบริการตรวจ


การตรวจสุขภาพสำหรับผู้ชาย อายุ 60-69 ปี เน้นการตรวจร่างกายและการทำงานอวัยวะต่างๆ อย่างละเอียด เพราะถือเป็นวัยที่เกิดความเสื่อต่าง ๆ ในร่างกาย ในวัยนี้การตรวจสุขภาพต้องเน้นไปที่โรคที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของอวัยวะต่างๆเช่น หัวใจ ไต ช่องท้อง กระดูกพรุน มะเร็งต่อมลูกหมาก ฮอร์โมนต่าง ๆ มะเร็งลำไส้ ทุกๆ ปี ควรตรวจอุจจาระเพื่อดูว่ามีเลือดปนเปื้อนออกมาหรือเปล่า พร้อมทั้งดูในเรื่องของ ตา และการได้ยิน เป็นต้น
รายการตรวจ
1. ชักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์
2. ตรวจวัดพื้นฐาน, วัดสัญญาณชีพ, หาค่าดัชนีมวลกาย (Vital Signs, BMI)
3. เอกซเรย์ปอดและหัวใจ (Chest Xray)
4. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)
5. ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Exercise Stress Test or Echocardiography)*เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
6. ตรวจวัดการแข็งตัวของหลอดเลือด (ABI)
7. ตรวจอัลตราซาวด์ช่องท้องทั้งหมด (Ultrasound Whole Abdomen)
8. ตรวจอัลตร้าซาวด์ไทรอยด์ (Ultrasound Neck&Thyroid)
9. ตรวจภาวะกระดูกพรุน (Bone Densitometry)
10. ตรวจสุขภาพตาโดยจักษุแพทย์ (Eye Examination by Ophthalmologist)
11. เครื่องตรวจวิเคราะห์ภาพตัดขวาง จอประสาทตา (Optical Coherence Tomography)
12. ตรวจวัดความดันลูกตา (Tonometer Without Contact)
13. ตรวจตาด้วยเครื่อง Slit Lamp โดยจักษุแพทย์ (Slit Lamp)
14. ตรวจการได้ยินโดยผู้เชี่ยวชาญ (Audiologist)
15. ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ด้วยเครื่องดิจิตอลแมมโมแกรม (Digital Mammogram)
16. พบแพทย์เฉพาะทางรักษ์เต้า (Breast Physical Examination)
17. ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Thin prep)
18. พบแพทย์เฉพาะทางสูตินรีเวช (Gynecologist Physician Examination)
19. ตรวจปัสสาวะ (UA)
20. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
21. ตรวจระดับน้ําตาลในเลือด (FBS)
22. ตรวจระดับนํ้าตาลสะสมในเลือด (HbA1c)
23. ตรวจการทํางานของไต (BUN)
24. ตรวจการทํางานของไต (Creatinine plus GFR)
25. ตรวจการทํางานของตับ (SGOT)
26. ตรวจการทํางานของตับ (SGPT)
27. ตรวจการทํางานของตับ (GGT)
28. ตรวจการทํางานของตับ (Alk Phosphatase)
29. ตรวจการทํางานของตับ (Total Protein)
30. ตรวจการทํางานของตับ (Albumin)
31. ตรวจการทํางานของตับ ( Total Bilirubin)
32. ตรวจการทํางานของตับ (Direct Bilirubin)
33. ตรวจหาสารบ่งชี้การอักเสบของหลอดเลือดแดง (hsCRP)
34. ตรวจปริมาณเกลือแร่ในเลือด (Sodium)
35. ตรวจปริมาณเกลือแร่ในเลือด (Potassium)
36. ตรวจปริมาณเกลือแร่ในเลือด (Chloride)
37. ตรวจปริมาณเกลือแร่ในเลือด (CO2)
38. ตรวจระดับไขมันในเลือด (Total Cholesterol)
39. ตรวจระดับไขมันดีในเลือด (HDL)
40. ตรวจระดับไขมันไม่ดีในเลือด (LDL)
41. ตรวจระดับไขมันในเลือด (Triglyceride)
42. ตรวจระดับกรดยูริคในเลือด (Uric Acid)
43. ตรวจการทํางานของต่อมไทรอยด์ (TSH)
44. ตรวจการทํางานของต่อมไทรอยด์ (Free T3)
45. ตรวจการทํางานของต่อมไทรอยด์ (Free T4)
46. ตรวจระดับฮอร์โมน (LH)
47. ตรวจระดับฮอร์โมน (FSH)
48. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่ (CA 125)
49. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร (CEA)
50. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ (AFP)
51. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน (CA199)
52. ตรวจระดับกรดโฟลิก (Folic Acid)
53. ตรวจวิตามิน บี 12 (Vitamin B12)
54. ตรวจระดับวิตามินดี (Vitamin D)
55. ตรวจอุจจาระ (Stool Examination)
56. ตรวจภาวะเลือดออกในอุจจาระ (Occult Blood)

หมายเหตุ
1. ราคาดังกล่าว รวมค่าแพทย์และค่าบริการเรียบร้อยแล้ว
2. ราคาดังกล่าว ไม่รวมกรณีตรวจพบความผิดปกติ หากจำเป็นต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยและรักษาเพิ่มเติม คิดอัตราค่าบริการเพิ่มตามจริง
3. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับการตรวจที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปเท่านั้น
4. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับบริการชาวไทย หรือชาวต่างชาติที่ทำงานในไทย (Expat) หรือแต่งงานมีครอบครัวเป็นชาวไทยเท่านั้น
5. กรุณางดอาหารและน้ำดื่มก่อนเข้ารับการตรวจ อย่างน้อย 8-12 ชั่วโมง (สามารถดื่มน้ำเปล่าได้)
6. เพื่อความสะดวกในการเข้ารับบริการ กรุณานัดหมายล่วงหน้า ได้ที่ application Health up หรือ Phyathai Call Center 1772
7. สามารถเข้ารับบริการได้ถึงวันที่ 31 ธ.ค. 2568
8. กรุณาแสดง ใบยืนยันคำสั่งซื้อ หรือแจ้งเลขออเดอร์ ก่อนเข้ารับบริการตรวจ


การตรวจสุขภาพสำหรับผู้ชาย อายุ 60-69 ปี เน้นการตรวจร่างกายและการทำงานอวัยวะต่างๆ อย่างละเอียด เพราะถือเป็นวัยที่เกิดความเสื่อต่าง ๆ ในร่างกาย ในวัยนี้การตรวจสุขภาพต้องเน้นไปที่โรคที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของอวัยวะต่างๆเช่น หัวใจ ไต ช่องท้อง กระดูกพรุน มะเร็งต่อมลูกหมาก ฮอร์โมนต่าง ๆ มะเร็งลำไส้ ทุกๆ ปี ควรตรวจอุจจาระเพื่อดูว่ามีเลือดปนเปื้อนออกมาหรือเปล่า พร้อมทั้งดูในเรื่องของ ตา และการได้ยิน เป็นต้น
รายการตรวจ
1. ชักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์
2. ตรวจวัดพื้นฐาน, วัดสัญญาณชีพ, หาค่าดัชนีมวลกาย (Vital Signs, BMI)
3. เอกซเรย์ปอดและหัวใจ (Chest Xray)
4. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)
5. ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Exercise Stress Test or Echocardiography)*เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
6. ตรวจวัดการแข็งตัวของหลอดเลือด (ABI)
7. ตรวจอัลตราซาวด์ช่องท้องทั้งหมด (Ultrasound Whole Abdomen)
8. ตรวจอัลตร้าซาวด์ไทรอยด์ (Ultrasound Neck&Thyroid)
9. ตรวจภาวะกระดูกพรุน (Bone Densitometry)
10. ตรวจสุขภาพตาโดยจักษุแพทย์ (Eye Examination by Ophthalmologist)
11. เครื่องตรวจวิเคราะห์ภาพตัดขวาง จอประสาทตา (Optical Coherence Tomography)
12. ตรวจวัดความดันลูกตา (Tonometer Without Contact)
13. ตรวจตาด้วยเครื่อง Slit Lamp โดยจักษุแพทย์ (Slit Lamp)
14. ตรวจการได้ยินโดยผู้เชี่ยวชาญ (Audiologist)
15. ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ด้วยเครื่องดิจิตอลแมมโมแกรม (Digital Mammogram)
16. พบแพทย์เฉพาะทางรักษ์เต้า (Breast Physical Examination)
17. ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Thin prep)
18. พบแพทย์เฉพาะทางสูตินรีเวช (Gynecologist Physician Examination)
19. ตรวจปัสสาวะ (UA)
20. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
21. ตรวจระดับน้ําตาลในเลือด (FBS)
22. ตรวจระดับนํ้าตาลสะสมในเลือด (HbA1c)
23. ตรวจการทํางานของไต (BUN)
24. ตรวจการทํางานของไต (Creatinine plus GFR)
25. ตรวจการทํางานของตับ (SGOT)
26. ตรวจการทํางานของตับ (SGPT)
27. ตรวจการทํางานของตับ (GGT)
28. ตรวจการทํางานของตับ (Alk Phosphatase)
29. ตรวจการทํางานของตับ (Total Protein)
30. ตรวจการทํางานของตับ (Albumin)
31. ตรวจการทํางานของตับ ( Total Bilirubin)
32. ตรวจการทํางานของตับ (Direct Bilirubin)
33. ตรวจหาสารบ่งชี้การอักเสบของหลอดเลือดแดง (hsCRP)
34. ตรวจปริมาณเกลือแร่ในเลือด (Sodium)
35. ตรวจปริมาณเกลือแร่ในเลือด (Potassium)
36. ตรวจปริมาณเกลือแร่ในเลือด (Chloride)
37. ตรวจปริมาณเกลือแร่ในเลือด (CO2)
38. ตรวจระดับไขมันในเลือด (Total Cholesterol)
39. ตรวจระดับไขมันดีในเลือด (HDL)
40. ตรวจระดับไขมันไม่ดีในเลือด (LDL)
41. ตรวจระดับไขมันในเลือด (Triglyceride)
42. ตรวจระดับกรดยูริคในเลือด (Uric Acid)
43. ตรวจการทํางานของต่อมไทรอยด์ (TSH)
44. ตรวจการทํางานของต่อมไทรอยด์ (Free T3)
45. ตรวจการทํางานของต่อมไทรอยด์ (Free T4)
46. ตรวจระดับฮอร์โมน (LH)
47. ตรวจระดับฮอร์โมน (FSH)
48. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่ (CA 125)
49. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร (CEA)
50. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ (AFP)
51. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน (CA199)
52. ตรวจระดับกรดโฟลิก (Folic Acid)
53. ตรวจวิตามิน บี 12 (Vitamin B12)
54. ตรวจระดับวิตามินดี (Vitamin D)
55. ตรวจอุจจาระ (Stool Examination)
56. ตรวจภาวะเลือดออกในอุจจาระ (Occult Blood)

หมายเหตุ
1. ราคาดังกล่าว รวมค่าแพทย์และค่าบริการเรียบร้อยแล้ว
2. ราคาดังกล่าว ไม่รวมกรณีตรวจพบความผิดปกติ หากจำเป็นต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยและรักษาเพิ่มเติม คิดอัตราค่าบริการเพิ่มตามจริง
3. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับการตรวจที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปเท่านั้น
4. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับบริการชาวไทย หรือชาวต่างชาติที่ทำงานในไทย (Expat) หรือแต่งงานมีครอบครัวเป็นชาวไทยเท่านั้น
5. กรุณางดอาหารและน้ำดื่มก่อนเข้ารับการตรวจ อย่างน้อย 8-12 ชั่วโมง (สามารถดื่มน้ำเปล่าได้)
6. เพื่อความสะดวกในการเข้ารับบริการ กรุณานัดหมายล่วงหน้า ได้ที่ application Health up หรือ Phyathai Call Center 1772
7. สามารถเข้ารับบริการได้ถึงวันที่ 31 ธ.ค. 2568
8. กรุณาแสดง ใบยืนยันคำสั่งซื้อ หรือแจ้งเลขออเดอร์ ก่อนเข้ารับบริการตรวจ


การตรวจสุขภาพสำหรับผู้ชาย อายุ 60-69 ปี เน้นการตรวจร่างกายและการทำงานอวัยวะต่างๆ อย่างละเอียด เพราะถือเป็นวัยที่เกิดความเสื่อต่าง ๆ ในร่างกาย ในวัยนี้การตรวจสุขภาพต้องเน้นไปที่โรคที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของอวัยวะต่างๆเช่น หัวใจ ไต ช่องท้อง กระดูกพรุน มะเร็งต่อมลูกหมาก ฮอร์โมนต่าง ๆ มะเร็งลำไส้ ทุกๆ ปี ควรตรวจอุจจาระเพื่อดูว่ามีเลือดปนเปื้อนออกมาหรือเปล่า พร้อมทั้งดูในเรื่องของ ตา และการได้ยิน เป็นต้น
รายการตรวจ
1. ชักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์
2. ตรวจวัดพื้นฐาน, วัดสัญญาณชีพ, หาค่าดัชนีมวลกาย (Vital Signs, BMI)
3. เอกซเรย์ปอดและหัวใจ (Chest Xray)
4. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)
5. ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Exercise Stress Test or Echocardiography)*เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
6. ตรวจวัดการแข็งตัวของหลอดเลือด (ABI)
7. ตรวจอัลตราซาวด์ช่องท้องทั้งหมด (Ultrasound Whole Abdomen)
8. ตรวจอัลตร้าซาวด์ไทรอยด์ (Ultrasound Neck&Thyroid)
9. ตรวจภาวะกระดูกพรุน (Bone Densitometry)
10. ตรวจสุขภาพตาโดยจักษุแพทย์ (Eye Examination by Ophthalmologist)
11. เครื่องตรวจวิเคราะห์ภาพตัดขวาง จอประสาทตา (Optical Coherence Tomography)
12. ตรวจวัดความดันลูกตา (Tonometer Without Contact)
13. ตรวจตาด้วยเครื่อง Slit Lamp โดยจักษุแพทย์ (Slit Lamp)
14. ตรวจการได้ยินโดยผู้เชี่ยวชาญ (Audiologist)
15. ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ด้วยเครื่องดิจิตอลแมมโมแกรม (Digital Mammogram)
16. พบแพทย์เฉพาะทางรักษ์เต้า (Breast Physical Examination)
17. ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Thin prep)
18. พบแพทย์เฉพาะทางสูตินรีเวช (Gynecologist Physician Examination)
19. ตรวจปัสสาวะ (UA)
20. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
21. ตรวจระดับน้ําตาลในเลือด (FBS)
22. ตรวจระดับนํ้าตาลสะสมในเลือด (HbA1c)
23. ตรวจการทํางานของไต (BUN)
24. ตรวจการทํางานของไต (Creatinine plus GFR)
25. ตรวจการทํางานของตับ (SGOT)
26. ตรวจการทํางานของตับ (SGPT)
27. ตรวจการทํางานของตับ (GGT)
28. ตรวจการทํางานของตับ (Alk Phosphatase)
29. ตรวจการทํางานของตับ (Total Protein)
30. ตรวจการทํางานของตับ (Albumin)
31. ตรวจการทํางานของตับ ( Total Bilirubin)
32. ตรวจการทํางานของตับ (Direct Bilirubin)
33. ตรวจหาสารบ่งชี้การอักเสบของหลอดเลือดแดง (hsCRP)
34. ตรวจปริมาณเกลือแร่ในเลือด (Sodium)
35. ตรวจปริมาณเกลือแร่ในเลือด (Potassium)
36. ตรวจปริมาณเกลือแร่ในเลือด (Chloride)
37. ตรวจปริมาณเกลือแร่ในเลือด (CO2)
38. ตรวจระดับไขมันในเลือด (Total Cholesterol)
39. ตรวจระดับไขมันดีในเลือด (HDL)
40. ตรวจระดับไขมันไม่ดีในเลือด (LDL)
41. ตรวจระดับไขมันในเลือด (Triglyceride)
42. ตรวจระดับกรดยูริคในเลือด (Uric Acid)
43. ตรวจการทํางานของต่อมไทรอยด์ (TSH)
44. ตรวจการทํางานของต่อมไทรอยด์ (Free T3)
45. ตรวจการทํางานของต่อมไทรอยด์ (Free T4)
46. ตรวจระดับฮอร์โมน (LH)
47. ตรวจระดับฮอร์โมน (FSH)
48. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่ (CA 125)
49. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร (CEA)
50. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ (AFP)
51. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน (CA199)
52. ตรวจระดับกรดโฟลิก (Folic Acid)
53. ตรวจวิตามิน บี 12 (Vitamin B12)
54. ตรวจระดับวิตามินดี (Vitamin D)
55. ตรวจอุจจาระ (Stool Examination)
56. ตรวจภาวะเลือดออกในอุจจาระ (Occult Blood)

หมายเหตุ
1. ราคาดังกล่าว รวมค่าแพทย์และค่าบริการเรียบร้อยแล้ว
2. ราคาดังกล่าว ไม่รวมกรณีตรวจพบความผิดปกติ หากจำเป็นต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยและรักษาเพิ่มเติม คิดอัตราค่าบริการเพิ่มตามจริง
3. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับการตรวจที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปเท่านั้น
4. แพ็กเกจดังกล่าว สำหรับผู้เข้ารับบริการชาวไทย หรือชาวต่างชาติที่ทำงานในไทย (Expat) หรือแต่งงานมีครอบครัวเป็นชาวไทยเท่านั้น
5. กรุณางดอาหารและน้ำดื่มก่อนเข้ารับการตรวจ อย่างน้อย 8-12 ชั่วโมง (สามารถดื่มน้ำเปล่าได้)
6. เพื่อความสะดวกในการเข้ารับบริการ กรุณานัดหมายล่วงหน้า ได้ที่ application Health up หรือ Phyathai Call Center 1772
7. สามารถเข้ารับบริการได้ถึงวันที่ 31 ธ.ค. 2568
8. กรุณาแสดง ใบยืนยันคำสั่งซื้อ หรือแจ้งเลขออเดอร์ ก่อนเข้ารับบริการตรวจ


แพ็กเกจนี้เหมาะสำหรับบุคคลที่มีอายุ 30 ปีขึ้นไป
รายการตรวจ
1. Physical Examination ซักประวัติและตรวจร่างกายทั่วไปโดยแพทย์
2. Vital Signs ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
3. Chest X-ray เอกซเรย์ปอด
4. Electrocardiography (EKG) ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
5. Ultrasound Whole Abdomen ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด
6. Fasting Blood Sugar (FBS) ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
7. HbA1c ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด
8. Creatinine ตรวจการทำงานของไต
9. Uric Acid ตรวจระดับกรดยูริคในเลือด
10. Cholesterol ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด
11. Triglyceride ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด
12. HDL-Cholesterol ตรวจระดับไขมัน (ชนิดดี) ในเลือด
13. LDL-Cholesterol ตรวจระดับไขมัน (ชนิดไม่ดี) ในเลือด
14. SGPT ตรวจการทำงานของตับ
15. Alk Phosphatase ตรวจการทำงานของตับ
16. CBC ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด
17. Urine Examination (UA) ตรวจปัสสาวะ
18. TSH (Thyroid Stimulating Hormone) ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์
19. AFP (Alpha Fetoprotein) ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ
20. CEA ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งลำไส้



โปรแกรม Fast Check Up เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการการตรวจสุขภาพที่ครอบคลุมและมีความสะดวกสบายในการตรวจสุขภาพทั้งหมดในหนึ่งครั้งเดียว
รายการตรวจ
1. Physical Examination ซักประวัติและตรวจร่างกายทั่วไปโดยแพทย์
2.Vital Signs ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
3.Fasting Blood Sugar (FBS) ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
4.Creatinine ตรวจการทำงานของไต
5.Cholesterol ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด
6.Triglyceride ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด
7.HDL-Cholesterol ตรวจระดับไขมัน (ชนิดดี) ในเลือด
8.LDL-Cholesterol ตรวจระดับไขมัน (ชนิดไม่ดี) ในเลือด
9.SGPT ตรวจการทำงานของตับ
10.Alk Phosphatase ตรวจการทำงานของตับ
11.CBC ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด



Smile Check Up: ตรวจสุขภาพพื้นฐาน 14 รายการ
เหมาะสำหรับผู้ที่อายุ 15 ปีขึ้นไป
รายการตรวจ

1.Physical Examination ซักประวัติและตรวจร่างกายทั่วไปโดยแพทย์
2.Vital Signs ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
3.Chest X-ray เอกซเรย์ปอด
4.Fasting Blood Sugar (FBS) ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
5.Creatinine ตรวจการทำงานของไต
6.Uric Acid ตรวจระดับกรดยูริคในเลือด
7.Cholesterol ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด
8.Triglyceride ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด
9.HDL-Cholesterol ตรวจระดับไขมัน (ชนิดดี) ในเลือด
10.LDL-Cholesterol ตรวจระดับไขมัน (ชนิดไม่ดี) ในเลือด
11.SGPT ตรวจการทำงานของตับ
12.Alk Phosphatase ตรวจการทำงานของตับ
13.CBC ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด
14.Urine Examination (UA) ตรวจปัสสาวะ



สายเฮลตี้ ใส่ใจสุขภาพอยู่เสมอ
เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการติดตามสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
รายการตรวจ

1.Physical Examination ซักประวัติและตรวจร่างกายทั่วไปโดยแพทย์
2.Vital Signs ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
3.Chest X-ray เอกซเรย์ปอด
4.Electrocardiography (EKG) ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
5.Fasting Blood Sugar (FBS) ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
6.HbA1c ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด
7.BUN ตรวจการทำงานของไต
8.Creatinine ตรวจการทำงานของไต
9.Uric Acid ตรวจระดับกรดยูริคในเลือด
10.Cholesterol ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด
11.Triglyceride ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด
12.HDL-Cholesterol ตรวจระดับไขมัน (ชนิดดี) ในเลือด
13.LDL-Cholesterol ตรวจระดับไขมัน (ชนิดไม่ดี) ในเลือด
14.SGPT ตรวจการทำงานของตับ
15.Alk Phosphatase ตรวจการทำงานของตับ
16.CBC ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด
17.Urine Examination (UA) ตรวจปัสสาวะ
18.FT4 ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์
19.TSH (Thyroid Stimulating Hormone) ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์
20.AFP (Alpha Fetoprotein) ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ
21.CEA ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งลำไส้



โปรแกรมตรวจสุขภาพเฉพาะสำหรับเพศชาย ที่ผสานการตรวจสุขภาพพื้นฐานและการตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echocardiography) เพื่อประเมินการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด พร้อมตัวเลือกการตรวจ ABI (Ankle-Brachial Index) หรือ Sphygmocor เพื่อวิเคราะห์ความยืดหยุ่นและการแข็งตัวของหลอดเลือด เหมาะสำหรับผู้ชายที่ใส่ใจสุขภาพและต้องการป้องกันโรคที่เกี่ยวข้องกับหัวใจและหลอดเลือดตั้งแต่ระยะแรกเริ่ม
รายการตรวจสำหรับผู้ชาย

1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3.เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6.*ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST)
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
7.*ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
*ตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ด้วยเครื่อง Sphygmocor Sphygmocor
8.ตรวจภาวักระดูกพรุน 2 ส่วน กระดูกสันหลังและสะโพก Bone Densitometry
9.ตรวจภาวะตับแข็ง ไขมันเกาะตับ ด้วยเครื่อง Fibroscan
10.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
11.ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
12.ตรวจการทำงานของไต Bun
13.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
14.ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
15.ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
16.ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
17.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
18.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
19.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
20.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
21.ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
22.ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
23.ตรวจการทำงานของตับ Albumin
24.ตรวจการทำงานของตับ Total Bilirubin
25.ตรวจการทำงานของตับ Globulin
26.ตรวจการทำงานของตับ GGT (Gamma GT)
27.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
28.ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
29.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
30.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
31.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
32.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
33.ขาด ตรวจฮอร์โมนเพศชาย Testosterone
34.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก PSA
35.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน CA19-9
36.ตรวจระดับวิตามินบี 12 Vitamin B 12
37.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine



โปรแกรมตรวจสุขภาพ Hybrid Check Up Male (CAC) เป็นโปรแกรมตรวจสุขภาพที่ออกแบบมาเฉพาะสำหรับผู้ชาย ซึ่งรวมการตรวจสุขภาพพื้นฐานและการตรวจสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือด โดยโปรแกรมนี้รวมการตรวจ Coronary Artery Calcification (CAC)
รายการตรวจสำหรับผู้ชาย

1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3.เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6.*ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST)
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
7.*ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
*ตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ด้วยเครื่อง Sphygmocor Sphygmocor
8.ตรวจภาวักระดูกพรุน 2 ส่วน กระดูกสันหลังและสะโพก Bone Densitometry
9.ตรวจภาวะตับแข็ง ไขมันเกาะตับ ด้วยเครื่อง Fibroscan
10.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
11.ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
12.ตรวจการทำงานของไต Bun
13.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
14.ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
15.ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
16.ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
17.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
18.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
19.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
20.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
21.ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
22.ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
23.ตรวจการทำงานของตับ Albumin
24.ตรวจการทำงานของตับ Total Bilirubin
25.ตรวจการทำงานของตับ Globulin
26.ตรวจการทำงานของตับ GGT (Gamma GT)
27.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
28.ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
29.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
30.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
31.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
32.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
33.ขาด ตรวจฮอร์โมนเพศชาย Testosterone
34.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก PSA
35.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน CA19-9
36.ตรวจระดับวิตามินบี 12 Vitamin B 12
37.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine



โปรแกรมตรวจสุขภาพ Hybrid Check Up Male (EST) คือโปรแกรมตรวจสุขภาพสำหรับผู้ชายที่รวมการตรวจสุขภาพพื้นฐานและการประเมินสมรรถภาพหัวใจด้วยการทดสอบความต้านทานการออกกำลังกาย (Exercise Stress Test, EST) พร้อมเลือกตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดด้วย ABI หรือ Sphygmocor เพื่อประเมินความเสี่ยงโรคหลอดเลือดและหัวใจ.
รายการตรวจสำหรับผู้ชาย

1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3.เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6.*ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST)
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
7.*ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
*ตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ด้วยเครื่อง Sphygmocor Sphygmocor
8.ตรวจภาวักระดูกพรุน 2 ส่วน กระดูกสันหลังและสะโพก Bone Densitometry
9.ตรวจภาวะตับแข็ง ไขมันเกาะตับ ด้วยเครื่อง Fibroscan
10.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
11.ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
12.ตรวจการทำงานของไต Bun
13.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
14.ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
15.ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
16.ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
17.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
18.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
19.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
20.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
21.ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
22.ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
23.ตรวจการทำงานของตับ Albumin
24.ตรวจการทำงานของตับ Total Bilirubin
25.ตรวจการทำงานของตับ Globulin
26.ตรวจการทำงานของตับ GGT (Gamma GT)
27.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
28.ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
29.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
30.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
31.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
32.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
33.ขาด ตรวจฮอร์โมนเพศชาย Testosterone
34.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก PSA
35.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน CA19-9
36.ตรวจระดับวิตามินบี 12 Vitamin B 12
37.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine




โปรแกรมตรวจสุขภาพ Hybrid Check Up สำหรับผู้หญิง (EST) เลือกตรวจ ABI หรือ Sphygmocor (S2CHU240237) เป็นโปรแกรมตรวจสุขภาพสำหรับผู้หญิงที่รวมการทดสอบสมรรถภาพหัวใจด้วยการออกกำลังกาย (Exercise Stress Test - EST) เพื่อประเมินการทำงานของหัวใจ พร้อมเลือกตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดด้วย ABI หรือ Sphygmocor เพื่อประเมินสุขภาพหลอดเลือดและความตึงตัวของหลอดเลือด.
รายการตรวจสำหรับผู้หญิง

1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3.เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6.*ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST) or CT
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
7.*ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
*ตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ด้วยเครื่อง Sphygmocor Sphygmocor
8.ตรวจภาวักระดูกพรุน 2 ส่วน กระดูกสันหลังและสะโพก Bone Densitometry
9.ตรวจภาวะตับแข็ง ไขมันเกาะตับ ด้วยเครื่อง Fibroscan
10.ตรวจเอกซเรย์ และอัลตร้าซาวด์เต้านมด้วยเครื่องดิจิตอล Digital Mammography
11.ตรวจเต้านมโดยแพทย์เฉพาะทาง Breast Physical Examination
12.ตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจภายในสตรี PV & PAP Test (Thin Prep)
13.พบแพทย์เฉพาะทางสูตินรีเวช Gynaecologist Physician Examination
14.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
15.ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
16.ตรวจการทำงานของไต Bun
17.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
18.ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
19.ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
20.ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
21.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
22.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
23.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
24.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
25.ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
26.ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
27.ตรวจการทำงานของตับ Albumin
28.ตรวจการทำงานของตับ Total Bilirubin
29.ตรวจการทำงานของตับ Globulin
30.ตรวจการทำงานของตับ GGT (Gamma GT)
31.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
32.ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
33.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
34.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
35.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
36.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
37.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน CA19-9
38.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่ CA125
39.ตรวจระดับวิตามินบี 12 Vitamin B 12
40.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
รวมรายการตรวจหญิง 40 รายการ



โปรแกรมตรวจสุขภาพ Hybrid Check Up สำหรับผู้หญิง (ECHO) เลือกตรวจ ABI หรือ Sphygmocor (S2CHU240245) คือโปรแกรมตรวจสุขภาพสำหรับผู้หญิงที่รวมการตรวจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ (Echocardiogram หรือ ECHO) เพื่อประเมินการทำงานของหัวใจ พร้อมกับตัวเลือกในการตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดด้วย ABI หรือ Sphygmocor เพื่อประเมินสุขภาพหลอดเลือดและความแข็งตัวของหลอดเลือด.






รายการตรวจสำหรับผู้หญิง

1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3.เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6.*ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST) or CT
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
7.*ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
*ตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ด้วยเครื่อง Sphygmocor Sphygmocor
8.ตรวจภาวักระดูกพรุน 2 ส่วน กระดูกสันหลังและสะโพก Bone Densitometry
9.ตรวจภาวะตับแข็ง ไขมันเกาะตับ ด้วยเครื่อง Fibroscan
10.ตรวจเอกซเรย์ และอัลตร้าซาวด์เต้านมด้วยเครื่องดิจิตอล Digital Mammography
11.ตรวจเต้านมโดยแพทย์เฉพาะทาง Breast Physical Examination
12.ตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจภายในสตรี PV & PAP Test (Thin Prep)
13.พบแพทย์เฉพาะทางสูตินรีเวช Gynaecologist Physician Examination
14.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
15.ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
16.ตรวจการทำงานของไต Bun
17.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
18.ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
19.ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
20.ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
21.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
22.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
23.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
24.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
25.ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
26.ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
27.ตรวจการทำงานของตับ Albumin
28.ตรวจการทำงานของตับ Total Bilirubin
29.ตรวจการทำงานของตับ Globulin
30.ตรวจการทำงานของตับ GGT (Gamma GT)
31.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
32.ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
33.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
34.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
35.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
36.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
37.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน CA19-9
38.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่ CA125
39.ตรวจระดับวิตามินบี 12 Vitamin B 12
40.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
รวมรายการตรวจหญิง 40 รายการ



Hybrid Check Up for Women (CAC) Select ABI or Sphygmocor คือโปรแกรมตรวจสุขภาพสำหรับผู้หญิงที่รวมการตรวจแคลเซียมในหลอดเลือดหัวใจ (CAC) เพื่อประเมินสุขภาพหัวใจ พร้อมให้เลือกตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดและสุขภาพหลอดเลือดด้วย ABI หรือ Sphygmocor.
รายการตรวจสำหรับผู้หญิง

1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3.เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6.*ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST) or CT
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
7.*ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
*ตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ด้วยเครื่อง Sphygmocor Sphygmocor
8.ตรวจภาวักระดูกพรุน 2 ส่วน กระดูกสันหลังและสะโพก Bone Densitometry
9.ตรวจภาวะตับแข็ง ไขมันเกาะตับ ด้วยเครื่อง Fibroscan
10.ตรวจเอกซเรย์ และอัลตร้าซาวด์เต้านมด้วยเครื่องดิจิตอล Digital Mammography
11.ตรวจเต้านมโดยแพทย์เฉพาะทาง Breast Physical Examination
12.ตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจภายในสตรี PV & PAP Test (Thin Prep)
13.พบแพทย์เฉพาะทางสูตินรีเวช Gynaecologist Physician Examination
14.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
15.ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
16.ตรวจการทำงานของไต Bun
17.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
18.ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
19.ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
20.ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
21.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
22.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
23.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
24.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
25.ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
26.ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
27.ตรวจการทำงานของตับ Albumin
28.ตรวจการทำงานของตับ Total Bilirubin
29.ตรวจการทำงานของตับ Globulin
30.ตรวจการทำงานของตับ GGT (Gamma GT)
31.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
32.ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
33.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
34.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
35.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
36.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
37.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน CA19-9
38.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่ CA125
39.ตรวจระดับวิตามินบี 12 Vitamin B 12
40.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
รวมรายการตรวจหญิง 40 รายการ



การตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปีถือเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ทุกเพศทุกวัยควรให้ความสำคัญเพราะนอกจากจะเป็นการค้นหาความเสี่ยงเพื่อป้องกันการเกิดโรคแล้ว หากเราตรวจพบโรคใดโรคยังเป็นการเพิ่มโอกาสในการรักษา ทั้งยังช่วยลดระดับความรุนแรงของโรคอีกด้วย
รายการตรวจสำหรับผู้ชาย

1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3.เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6.*ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST) or CT
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
7.ตรวจภาวะกระดูกพรุน 2 ส่วนกระดูกสันหลังและสะโพก Bone Densitometry
8.ตรวจภาวะตับแข็ง ไขมันเกาะตับ ด้วยเครื่อง Fibroscan
9.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
10.ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
11.ตรวจการทำงานของไต Bun
12.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
13.ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
14.ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
15.ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
16.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
17.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
18.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
19.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
20.ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
21.ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
22.ตรวจการทำงานของตับ Albumin
23.ตรวจการทำงานของตับ Total Bilirubin
24.ตรวจการทำงานของตับ Globulin
25.ตรวจการทำงานของตับ GGT (Gamma GT)
26.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
27.ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
28.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
29.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
30.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
31.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
32.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก PSA (Prostatic Specific Ag)
33.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน CA19-9
34.ตรวจระดับวิตามินบี 12 Vitamin B 12
35.ตรวจระดับวิตามินดี Vitamin D
36.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
37.ตรวจฮอร์โมนเพศชาย Testosterone
รวมรายการตรวจชาย 37 รายการ



การตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปีถือเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ทุกเพศทุกวัยควรให้ความสำคัญเพราะนอกจากจะเป็นการค้นหาความเสี่ยงเพื่อป้องกันการเกิดโรคแล้ว หากเราตรวจพบโรคใดโรคยังเป็นการเพิ่มโอกาสในการรักษา ทั้งยังช่วยลดระดับความรุนแรงของโรคอีกด้วย
รายการตรวจสำหรับผู้ชาย

1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3.เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6.*ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST) or CT
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
7.ตรวจภาวะกระดูกพรุน 2 ส่วนกระดูกสันหลังและสะโพก Bone Densitometry
8.ตรวจภาวะตับแข็ง ไขมันเกาะตับ ด้วยเครื่อง Fibroscan
9.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
10.ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
11.ตรวจการทำงานของไต Bun
12.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
13.ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
14.ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
15.ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
16.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
17.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
18.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
19.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
20.ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
21.ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
22.ตรวจการทำงานของตับ Albumin
23.ตรวจการทำงานของตับ Total Bilirubin
24.ตรวจการทำงานของตับ Globulin
25.ตรวจการทำงานของตับ GGT (Gamma GT)
26.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
27.ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
28.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
29.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
30.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
31.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
32.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก PSA (Prostatic Specific Ag)
33.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน CA19-9
34.ตรวจระดับวิตามินบี 12 Vitamin B 12
35.ตรวจระดับวิตามินดี Vitamin D
36.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
37.ตรวจฮอร์โมนเพศชาย Testosterone
รวมรายการตรวจชาย 37 รายการ



การตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปีถือเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ทุกเพศทุกวัยควรให้ความสำคัญเพราะนอกจากจะเป็นการค้นหาความเสี่ยงเพื่อป้องกันการเกิดโรคแล้ว หากเราตรวจพบโรคใดโรคยังเป็นการเพิ่มโอกาสในการรักษา ทั้งยังช่วยลดระดับความรุนแรงของโรคอีกด้วย
รายการตรวจสำหรับผู้ชาย

1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3.เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6.*ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST) or CT
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
7.ตรวจภาวะกระดูกพรุน 2 ส่วนกระดูกสันหลังและสะโพก Bone Densitometry
8.ตรวจภาวะตับแข็ง ไขมันเกาะตับ ด้วยเครื่อง Fibroscan
9.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
10.ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
11.ตรวจการทำงานของไต Bun
12.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
13.ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
14.ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
15.ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
16.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
17.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
18.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
19.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
20.ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
21.ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
22.ตรวจการทำงานของตับ Albumin
23.ตรวจการทำงานของตับ Total Bilirubin
24.ตรวจการทำงานของตับ Globulin
25.ตรวจการทำงานของตับ GGT (Gamma GT)
26.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
27.ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
28.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
29.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
30.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
31.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
32.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก PSA (Prostatic Specific Ag)
33.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน CA19-9
34.ตรวจระดับวิตามินบี 12 Vitamin B 12
35.ตรวจระดับวิตามินดี Vitamin D
36.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
37.ตรวจฮอร์โมนเพศชาย Testosterone
รวมรายการตรวจชาย 37 รายการ



การตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปีถือเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ทุกเพศทุกวัยควรให้ความสำคัญเพราะนอกจากจะเป็นการค้นหาความเสี่ยงเพื่อป้องกันการเกิดโรคแล้ว หากเราตรวจพบโรคใดโรคยังเป็นการเพิ่มโอกาสในการรักษา ทั้งยังช่วยลดระดับความรุนแรงของโรคอีกด้วย
รายการตรวจสำหรับผู้หญิง

1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3.เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6.*ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST) or CT
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
7.ตรวจภาวะกระดูกพรุน 2 ส่วนกระดูกสันหลังและสะโพก Bone Densitometry
8.ตรวจภาวะตับแข็ง ไขมันเกาะตับ ด้วยเครื่อง Fibroscan
9.ตรวจเอกซเรย์ และอัลตร้าซาวด์เต้านมด้วยเครื่องดิจิตอล Digital Mammography
10.พบแพทย์เฉพาะทางรักษ์เต้านม Breast Physician Examination
11.ตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจภายในสตรี PV & PAP Test (Thin Prep)
12.พบแพทย์เฉพาะทางสูตินรีเวช Gynaecologist Physician Examination
13.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
14.ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
15.ตรวจการทำงานของไต Bun
16.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
17.ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
18.ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
19.ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
20.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
21.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
22.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
23.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
24.ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
25.ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
26.ตรวจการทำงานของตับ Albumin
27.ตรวจการทำงานของตับ Total Bilirubin
28.ตรวจการทำงานของตับ Globulin
29.ตรวจการทำงานของตับ GGT (Gamma GT)
30.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
31.ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
32.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
33.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
34.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
35.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
36.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่ CA125
37.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน CA19-9
38.ตรวจระดับวิตามินบี 12 Vitamin B 12
39.ตรวจระดับวิตามินดี Vitamin D
40.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
รวมรายการตรวจหญิง 40 รายการ



การตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปีถือเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ทุกเพศทุกวัยควรให้ความสำคัญเพราะนอกจากจะเป็นการค้นหาความเสี่ยงเพื่อป้องกันการเกิดโรคแล้ว หากเราตรวจพบโรคใดโรคยังเป็นการเพิ่มโอกาสในการรักษา ทั้งยังช่วยลดระดับความรุนแรงของโรคอีกด้วย
รายการตรวจสำหรับผู้หญิง

1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3.เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6.*ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST) or CT
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
7.ตรวจภาวะกระดูกพรุน 2 ส่วนกระดูกสันหลังและสะโพก Bone Densitometry
8.ตรวจภาวะตับแข็ง ไขมันเกาะตับ ด้วยเครื่อง Fibroscan
9.ตรวจเอกซเรย์ และอัลตร้าซาวด์เต้านมด้วยเครื่องดิจิตอล Digital Mammography
10.พบแพทย์เฉพาะทางรักษ์เต้านม Breast Physician Examination
11.ตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจภายในสตรี PV & PAP Test (Thin Prep)
12.พบแพทย์เฉพาะทางสูตินรีเวช Gynaecologist Physician Examination
13.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
14.ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
15.ตรวจการทำงานของไต Bun
16.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
17.ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
18.ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
19.ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
20.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
21.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
22.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
23.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
24.ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
25.ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
26.ตรวจการทำงานของตับ Albumin
27.ตรวจการทำงานของตับ Total Bilirubin
28.ตรวจการทำงานของตับ Globulin
29.ตรวจการทำงานของตับ GGT (Gamma GT)
30.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
31.ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
32.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
33.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
34.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
35.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
36.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่ CA125
37.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน CA19-9
38.ตรวจระดับวิตามินบี 12 Vitamin B 12
39.ตรวจระดับวิตามินดี Vitamin D
40.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
รวมรายการตรวจหญิง 40 รายการ



การตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปีถือเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ทุกเพศทุกวัยควรให้ความสำคัญเพราะนอกจากจะเป็นการค้นหาความเสี่ยงเพื่อป้องกันการเกิดโรคแล้ว หากเราตรวจพบโรคใดโรคยังเป็นการเพิ่มโอกาสในการรักษา ทั้งยังช่วยลดระดับความรุนแรงของโรคอีกด้วย
รายการตรวจสำหรับผู้หญิง

1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3.เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6.*ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST) or CT
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
7.ตรวจภาวะกระดูกพรุน 2 ส่วนกระดูกสันหลังและสะโพก Bone Densitometry
8.ตรวจภาวะตับแข็ง ไขมันเกาะตับ ด้วยเครื่อง Fibroscan
9.ตรวจเอกซเรย์ และอัลตร้าซาวด์เต้านมด้วยเครื่องดิจิตอล Digital Mammography
10.พบแพทย์เฉพาะทางรักษ์เต้านม Breast Physician Examination
11.ตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจภายในสตรี PV & PAP Test (Thin Prep)
12.พบแพทย์เฉพาะทางสูตินรีเวช Gynaecologist Physician Examination
13.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
14.ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
15.ตรวจการทำงานของไต Bun
16.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
17.ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
18.ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
19.ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
20.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
21.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
22.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
23.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
24.ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
25.ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
26.ตรวจการทำงานของตับ Albumin
27.ตรวจการทำงานของตับ Total Bilirubin
28.ตรวจการทำงานของตับ Globulin
29.ตรวจการทำงานของตับ GGT (Gamma GT)
30.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
31.ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
32.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
33.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
34.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
35.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
36.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่ CA125
37.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน CA19-9
38.ตรวจระดับวิตามินบี 12 Vitamin B 12
39.ตรวจระดับวิตามินดี Vitamin D
40.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
รวมรายการตรวจหญิง 40 รายการ



โปรแกรมตรวจสุขภาพ Exclusive Stroke (MRI Stroke) สำหรับผู้หญิง เป็นโปรแกรมตรวจสุขภาพที่ออกแบบเฉพาะสำหรับผู้ชายเพื่อประเมินความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
รายการตรวจสำหรับผู้ชาย

1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3.เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5.ตรวจสมองและหลอดเลือดที่สมองด้วยเครื่องสนามแม่เหล็ก MRI Stroke
6.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
7.ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
8.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
9.ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
10.ตรวจการทำงานของไต Bun
11.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
12.ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
13.ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
14.ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
15.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
16.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
17.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
18.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
19.ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
20.ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
21.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
22.ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
23.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
24.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
25.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
26.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
27.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก PSA (Prostatic Specific Ag)
28.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
รวมรายการชาย 28 รายการ



โปรแกรมตรวจสุขภาพ Exclusive Stroke (MRI Stroke) สำหรับผู้หญิง เป็นโปรแกรมตรวจสุขภาพที่ออกแบบเฉพาะสำหรับผู้หญิง เพื่อประเมินความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
รายการตรวจสำหรับผู้หญิง

1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3.เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6.ตรวจสมองและหลอดเลือดที่สมองด้วยเครื่องสนามแม่เหล็ก MRI MRI Stroke
7.ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
8.ตรวจเอกซเรย์ และอัลตร้าซาวด์เต้านมด้วยเครื่องดิจิตอล Digital Mammography
9.พบแพทย์เฉพาะทางรักษ์เต้านม Breast Physician Examination
10.ตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจภายในสตรี PV & PAP Test (Thin Prep)
11.พบแพทย์เฉพาะทางสูตินรีเวช Gynaecologist Physician Examination
12.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
13.ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
14.ตรวจการทำงานของไต Bun
15.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
16.ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
17.ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
18.ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
19.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
20.ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
21.ตรวจการทำงานของตับ SGOT
22.ตรวจการทำงานของตับ SGPT
23.ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
24.ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
25.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
26.ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
27.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
28.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
29.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
30.ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
31.ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่ CA125
32.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
รวมรายการหญิง 32 รายการ



เหมาะสำหรับอายุ20ปีขึ้นไป
ตรวจน้ำตาลไขมันปอดไวรัสตับอักเสบโทรอยด์
รายการตรวจ

1.Physical Examination ซักประวัติและตรวจร่างกายทั่วไปโดยแพทย์
2.Vital Signs ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
3.Chest X-ray เอกซเรย์ปอด
4.Fasting Blood Sugar (FBS) ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
5.Creatinine ตรวจการทำงานของไต
6.Uric Acid ตรวจระดับกรดยูริคในเลือด
7.Cholesterol ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด
8.Triglyceride ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด
9.HDL-Cholesterol ตรวจระดับไขมัน (ชนิดดี) ในเลือด
10.LDL-Cholesterol ตรวจระดับไขมัน (ชนิดไม่ดี) ในเลือด
11.SGPT ตรวจการทำงานของตับ
12.ตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (HBsAg)
13.ตรวจหาภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบบี (Anti HBs)
14.ตรวจหาภูมิต้านทานไวรัสตับอักเสบเอ (Anti HAV IgG)
15.ตรวจเลือดหาการเคยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี (Anti HCV)
16.CBC ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด
17.ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
18.ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
รวมรายการตรวจ 18 รายการ



ทำไมต้องตรวจสุขภาพ 9 โรค?

- วินิจฉัยโรคที่อาจไม่แสดงอาการ เช่น วัณโรค, ไข้รากสาดน้อย และไข้ตับอักเสบ
- ช่วยให้คุณมีใบรับรองแพทย์ที่ตรงตามกฎระเบียบ เพื่อการทำงานในอุตสาหกรรมอาหาร
- ลดความเสี่ยงในการแพร่กระจายโรคในที่ทำงาน
รายการตรวจ
1. ซักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Medical history and medical check-up by physician
2. วัณโรคในระยะอันตราย Advanced Pulmonary Tuberculosis
3. อหิวาตกโรค Cholera
4. ไข้รากสาดน้อย Typhoid
5. โรคบิด Dysentery
6. โรคไข้อีสุกอีใส Chickenpox
7. โรคคางทูม Mumps
8. โรคเรื้อน Leprosy
9. โรคผิวหนังน่ารังเกียจ Dermatitis
10. โรคตับอักเสบที่เกิดจากไวรัส Hepatitis



ตรวจสุขภาพเพื่อขอใบรับรองแพทย์เพื่อทำ Work Permit (แพ็กเกจนี้ไม่มีการตรวจ Covid-19)
รายการตรวจ
1. ซักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
2. โรคเรื้อน
3. วัณโรคระยะอันตราย
4. โรคยาเสพติดให้โทษ
5. โรคพิษสุราเรื้อรัง
6. โรคเท้าช้างโรคซิฟิลิสในระยะที่ 3



โปรแกรมตรวจสุขภาพ Perfect 40+ (ชาย) เป็นโปรแกรมตรวจสุขภาพที่ครอบคลุมสำหรับผู้ชายอายุ 40 ปีขึ้นไป โดยเน้นการตรวจคัดกรองเพื่อการตรวจพบปัญหาสุขภาพในระยะเริ่มต้น.
รายการตรวจสำหรับผู้ชาย

1.Physical Examination ซักประวัติและตรวจร่างกายทั่วไปโดยแพทย์
2.Vital signs วัดความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
3.Chest X-ray เอกซเรย์ปอด
4.Electrocardiography (EKG) ตรวจคลื่นหัวใจไฟฟ้า
5.Ultrasound Whole Abdomen ตรวจอันตร้าซาวด์ช่องท้องส่วนบน-ส่วนล่าง
6.Bone Densitometry ตรวจภาวะกระดูกพรุน 2 ส่วนกระดูกสันหลังและสะโพก
7.Fasting Blood Sugar (FBS) ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
8.HbA1c ตรวจติดตามควบคุมเบาหวาน
9.BUN ตรวจการทำงานของไต
10.Creatinine ตรวจการทำงานของไต
11.Uric Acid ตรวจระดับกรดยูริค
12.Total Cholesterol ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (โคเลสเตอรอล)
13.Triglyceride ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไตรกลีเซอไรด์)
14.HDL-Cholesterol ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไขมันดีในเลือด)
15.LDL-Cholesterol ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไขมันไม่ดีในเลือด)
16.SGOT ตรวจการทำงานของตับ
17.SGPT ตรวจการทำงานของตับ
18.Alk Phosphatase ตรวจการทำงานของตับ
19.Complete Blood Count (CBC) ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
20.Urine Examination (UA) ตรวจปัสสาวะ
21.Thyroid Stimulating Hormone (TSH) ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์
22.Alpha Fetoprotein (AFP) ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ
23.CEA ตรวจหาสารบ่งชี้มะเล็งทางเดินอาหาร
24.PSA (Prostatic Specific Ag) ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก
25.Testosterone ตรวจฮอร์โมนเพศชาย
รวมรายการตรวจชาย 25 รายการ



โปรแกรมPerfect40+
เหมาะสำหรับอายุ40ปีขึ้นไป
รายการตรวจสำหรับผู้หญิง

1.Physical Examination ซักประวัติและตรวจร่างกายทั่วไปโดยแพทย์
2.Vital signs วัดความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
3.Chest X-ray เอกซเรย์ปอด
4.Electrocardiography (EKG) ตรวจคลื่นหัวใจไฟฟ้า
5.Ultrasound Whole Abdomen ตรวจอันตร้าซาวด์ช่องท้องส่วนบน-ส่วนล่าง
6.Bone Densitometry ตรวจภาวะกระดูกพรุน 2 ส่วนกระดูกสันหลังและสะโพก
7.Digital Mammography ตรวจเอกซเรย์ และอัลตร้าซาวด์เต้านมด้วยเครื่องดิจิตอล
8.Breast Physical Examination พบแพทย์เฉพาะทางรักษ์เต้านม
9.PV & PAP Test (Thin Prep) ตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจภายในสตรี
10.Gynaecologist Physician Examination พบแพทย์เฉพาะทางสูติ-นรีเวช
11.Fasting Blood Sugar (FBS) ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
12.HbA1c ตรวจติดตามควบคุมเบาหวาน
13.BUN ตรวจการทำงานของไต
14.Creatinine ตรวจการทำงานของไต
15.Uric Acid ตรวจระดับกรดยูริค
16.Total Cholesterol ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (โคเลสเตอรอล)
17.Triglyceride ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไตรกลีเซอไรด์)
18.HDL-Cholesterol ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไขมันดีในเลือด)
19.LDL-Cholesterol ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไขมันไม่ดีในเลือด)
20.SGOT ตรวจการทำงานของตับ
21.SGPT ตรวจการทำงานของตับ
22.Alk Phosphatase ตรวจการทำงานของตับ
23.Complete Blood Count (CBC) ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
24.Urine Examination (UA) ตรวจปัสสาวะ
25.Thyroid Stimulating Hormone (TSH) ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์
26.Alpha Fetoprotein (AFP) ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งตับ
27.CEA ตรวจหาสารบ่งชี้มะเล็งทางเดินอาหาร
28.CA125 ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่
รวมรายการตรวจหญิง 28 รายการ



โปรแกรมตรวจสุขภาพ Expert Health สำหรับผู้ที่มีอายุ 40 ปี ขึ้นไป
ด้วยการตรวจหัวใจและหลอดเลือดด้วยการวิ่งสายสายพาน (EST) หรือตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT Scan
หรือการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Echocardiography) ร่วมด้วยการตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลายด้วยเครื่อง ABI หรือตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ ด้วยเครื่อง Sphygmocor
รายการตรวจสำหรับผู้ชาย
1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2. ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3. เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6. *ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST) or CT
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
*เอกซเรย์ปอดด้วยเครื่อง CT Screening Lung
7. *ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
*ตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ด้วยเครื่อง Sphygmocor Sphygmocor
8. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
9. ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
10. ตรวจการทำงานของไต Bun
11. ตรวจการทำงานของไต Creatinine
12. ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
13. ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
14. ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
15. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
16. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
17. ตรวจการทำงานของตับ SGOT
18. ตรวจการทำงานของตับ SGPT
19. ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
20. ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
21. ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
22. ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
23. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
24. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
25. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
26. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
27. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก PSA (Prostatic Specific Ag)
28. วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
รวมรายการตรวจชาย 28 รายการ



โปรแกรมตรวจสุขภาพ Expert Health สำหรับผู้ที่มีอายุ 40 ปี ขึ้นไป ด้วยการตรวจหัวใจและหลอดเลือดด้วยการวิ่งสายสายพาน (EST) หรือตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT Scan หรือการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Echocardiography) ร่วมด้วยการตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลายด้วยเครื่อง ABI หรือตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ ด้วยเครื่อง Sphygmocor
รายการตรวจสำหรับผู้หญิง
1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2. ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3. เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6. *ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST)
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
*เอกซเรย์ปอดด้วยเครื่อง CT Screening Lung
7. *ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
*ตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ด้วยเครื่อง Sphygmocor
8. ตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคมะเร็งเต้านม Digital Mammogram
9. ตรวจเต้านมโดยแพทย์เฉพาะทาง Breast Physical Examination
10. ตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจภายในสตรี PV & PAP Test (Thin Prep)
11. พบแพทย์เฉพาะทางสูตินรีเวช Gynaecologist Physician Examination
12. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
13. ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
14. ตรวจการทำงานของไต Bun
15. ตรวจการทำงานของไต Creatinine
16. ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
17. ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
18. ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
19. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
20. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
21. ตรวจการทำงานของตับ SGOT
22. ตรวจการทำงานของตับ SGPT
23. ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
24. ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
25. ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
26. ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
27. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
28. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
29. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
30. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
31. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่ CA125
32. วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
รวมรายการตรวจหญิง 32 รายการ



โปรแกรมตรวจสุขภาพ Expert Health สำหรับผู้ที่มีอายุ 40 ปี ขึ้นไป ด้วยการตรวจหัวใจและหลอดเลือดด้วยการวิ่งสายสายพาน (EST) หรือตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT Scan หรือการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Echocardiography) ร่วมด้วยการตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลายด้วยเครื่อง ABI หรือตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ ด้วยเครื่อง Sphygmocor
รายการตรวจสำหรับผู้ชาย
1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2. ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3. เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6. *ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST) or CT
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
*เอกซเรย์ปอดด้วยเครื่อง CT Screening Lung
7. *ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
*ตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ด้วยเครื่อง Sphygmocor Sphygmocor
8. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
9. ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
10. ตรวจการทำงานของไต Bun
11. ตรวจการทำงานของไต Creatinine
12. ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
13. ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
14. ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
15. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
16. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
17. ตรวจการทำงานของตับ SGOT
18. ตรวจการทำงานของตับ SGPT
19. ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
20. ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
21. ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
22. ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
23. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
24. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
25. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
26. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
27. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก PSA (Prostatic Specific Ag)
28. วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
รวมรายการตรวจชาย 28 รายการ



โปรแกรมตรวจสุขภาพ Expert Health สำหรับผู้ที่มีอายุ 40 ปี ขึ้นไป ด้วยการตรวจหัวใจและหลอดเลือดด้วยการวิ่งสายสายพาน (EST) หรือตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT Scan หรือการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Echocardiography) ร่วมด้วยการตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลายด้วยเครื่อง ABI หรือตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ ด้วยเครื่อง Sphygmocor
รายการตรวจสำหรับผู้หญิง
1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2. ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3. เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6. *ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST)
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
*เอกซเรย์ปอดด้วยเครื่อง CT Screening Lung
7. *ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
*ตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ด้วยเครื่อง Sphygmocor
8. ตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคมะเร็งเต้านม Digital Mammogram
9. ตรวจเต้านมโดยแพทย์เฉพาะทาง Breast Physical Examination
10. ตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจภายในสตรี PV & PAP Test (Thin Prep)
11. พบแพทย์เฉพาะทางสูตินรีเวช Gynaecologist Physician Examination
12. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
13. ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
14. ตรวจการทำงานของไต Bun
15. ตรวจการทำงานของไต Creatinine
16. ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
17. ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
18. ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
19. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
20. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
21. ตรวจการทำงานของตับ SGOT
22. ตรวจการทำงานของตับ SGPT
23. ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
24. ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
25. ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
26. ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
27. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
28. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
29. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
30. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
31. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่ CA125
32. วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
รวมรายการตรวจหญิง 32 รายการ



โปรแกรมตรวจสุขภาพ Expert Health สำหรับผู้ที่มีอายุ 40 ปี ขึ้นไป ด้วยการตรวจหัวใจและหลอดเลือดด้วยการวิ่งสายสายพาน (EST) หรือตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT Scan หรือการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Echocardiography) ร่วมด้วยการตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลายด้วยเครื่อง ABI หรือตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ ด้วยเครื่อง Sphygmocor
รายการตรวจสำหรับผู้ชาย
1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2. ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3. เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6. *ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST) or CT
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
*เอกซเรย์ปอดด้วยเครื่อง CT Screening Lung
7. *ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
*ตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ด้วยเครื่อง Sphygmocor Sphygmocor
8. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
9. ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
10. ตรวจการทำงานของไต Bun
11. ตรวจการทำงานของไต Creatinine
12. ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
13. ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
14. ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
15. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
16. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
17. ตรวจการทำงานของตับ SGOT
18. ตรวจการทำงานของตับ SGPT
19. ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
20. ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
21. ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
22. ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
23. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
24. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
25. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
26. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
27. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก PSA (Prostatic Specific Ag)
28. วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
รวมรายการตรวจชาย 28 รายการ



โปรแกรมตรวจสุขภาพ Expert Health สำหรับผู้ที่มีอายุ 40 ปี ขึ้นไป ด้วยการตรวจหัวใจและหลอดเลือดด้วยการวิ่งสายสายพาน (EST) หรือตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT Scan หรือการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Echocardiography) ร่วมด้วยการตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลายด้วยเครื่อง ABI หรือตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ ด้วยเครื่อง Sphygmocor
รายการตรวจสำหรับผู้หญิง
1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2. ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3. เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6. *ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST)
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
*เอกซเรย์ปอดด้วยเครื่อง CT Screening Lung
7. *ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
*ตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ด้วยเครื่อง Sphygmocor
8. ตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคมะเร็งเต้านม Digital Mammogram
9. ตรวจเต้านมโดยแพทย์เฉพาะทาง Breast Physical Examination
10. ตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจภายในสตรี PV & PAP Test (Thin Prep)
11. พบแพทย์เฉพาะทางสูตินรีเวช Gynaecologist Physician Examination
12. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
13. ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
14. ตรวจการทำงานของไต Bun
15. ตรวจการทำงานของไต Creatinine
16. ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
17. ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
18. ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
19. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
20. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
21. ตรวจการทำงานของตับ SGOT
22. ตรวจการทำงานของตับ SGPT
23. ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
24. ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
25. ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
26. ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
27. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
28. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
29. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
30. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
31. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่ CA125
32. วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
รวมรายการตรวจหญิง 32 รายการ



โปรแกรมตรวจสุขภาพ Expert Health สำหรับผู้ที่มีอายุ 40 ปี ขึ้นไป ด้วยการตรวจหัวใจและหลอดเลือดด้วยการวิ่งสายสายพาน (EST) หรือตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT Scan หรือการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Echocardiography) ร่วมด้วยการตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลายด้วยเครื่อง ABI หรือตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ ด้วยเครื่อง Sphygmocor
รายการตรวจสำหรับผู้ชาย
1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2. ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3. เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6. *ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST) or CT
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
*เอกซเรย์ปอดด้วยเครื่อง CT Screening Lung
7. *ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
*ตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ด้วยเครื่อง Sphygmocor Sphygmocor
8. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
9. ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
10. ตรวจการทำงานของไต Bun
11. ตรวจการทำงานของไต Creatinine
12. ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
13. ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
14. ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
15. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
16. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
17. ตรวจการทำงานของตับ SGOT
18. ตรวจการทำงานของตับ SGPT
19. ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
20. ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
21. ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
22. ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
23. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
24. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
25. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
26. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
27. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก PSA (Prostatic Specific Ag)
28. วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
รวมรายการตรวจชาย 28 รายการ



โปรแกรมตรวจสุขภาพ Expert Health สำหรับผู้ที่มีอายุ 40 ปี ขึ้นไป ด้วยการตรวจหัวใจและหลอดเลือดด้วยการวิ่งสายสายพาน (EST) หรือตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT Scan หรือการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Echocardiography) ร่วมด้วยการตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลายด้วยเครื่อง ABI หรือตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ ด้วยเครื่อง Sphygmocor
รายการตรวจสำหรับผู้หญิง
1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2. ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3. เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
6. *ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการวิ่งสายพาน หรือ Exercise stress test (EST)
*ตรวจดูแคลเซียมที่หลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง CT 256 slide หรือ Coronary Artery Calcification or
*ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Echocardiography
*เอกซเรย์ปอดด้วยเครื่อง CT Screening Lung
7. *ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
*ตรวจความดันหลอดเลือดแดงใหญ่ด้วยเครื่อง Sphygmocor
8. ตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคมะเร็งเต้านม Digital Mammogram
9. ตรวจเต้านมโดยแพทย์เฉพาะทาง Breast Physical Examination
10. ตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจภายในสตรี PV & PAP Test (Thin Prep)
11. พบแพทย์เฉพาะทางสูตินรีเวช Gynaecologist Physician Examination
12. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
13. ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
14. ตรวจการทำงานของไต Bun
15. ตรวจการทำงานของไต Creatinine
16. ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
17. ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
18. ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
19. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
20. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
21. ตรวจการทำงานของตับ SGOT
22. ตรวจการทำงานของตับ SGPT
23. ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
24. ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
25. ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
26. ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
27. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
28. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
29. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
30. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
31. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่ CA125
32. วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
รวมรายการตรวจหญิง 32 รายการ



โปรแกรมนี้เหมาะสำหรับผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ที่ต้องการตรวจสุขภาพ พร้อมคัดกรองความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง ด้วยการตรวจหลอดเลือดแดงใหญ่ที่คอ (Doppler of Both Carotid) รวมถึงตรวจดูการอุดตันของหลอดเลือดแดงและความยืดหยุ่นของหลอดเลือด
รายการตรวจสำหรับผู้ชาย
1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2. ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital Signs
3. เอกซเรย์ปอด Chest X-ray
4. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography (EKG)
5. ตรวจความเสี่ยงโรคหลอดเลือดแดงใหญ่ที่คอ Doppler of Both Carotid
6. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด Ultrasound Whole Abdomen
7. ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย ABI
8. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Fasting Blood Sugar (FBS)
9. ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1C
10. ตรวจการทำงานของไต Bun
11. ตรวจการทำงานของไต Creatinine
12. ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด Uric Acid
13. ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด Cholesterol
14. ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด Triglyceride
15. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
16. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
17. ตรวจการทำงานของตับ SGOT
18. ตรวจการทำงานของตับ SGPT
19. ตรวจการทำงานของตับ Alk Phosphatase
20. ตรวจการทำงานของตับ Total Protein
21. ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
22. ตรวจปัสสาวะ Urine Examination (UA)
23. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ FT4 (Free T4)
24. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
25. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ตับ AFP (Alpha Fetoprotein)
26. ตรวจหาสารมะเร็งบ่งชี้ลำไส้ CEA
27. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก PSA (Prostatic Specific Ag)
28. วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Influenza Vaccine
รวมรายการตรวจชาย 28 รายการ



โปรแกรมนี้เหมาะสำหรับผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ที่ต้องการตรวจสุขภาพ พร้อมคัดกรองความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง ด้วยการตรวจหลอดเลือดแดงใหญ่ที่คอ (Doppler of Both Carotid) รวมถึงตรวจดูการอุดตันของหลอดเลือดแดงและความยืดหยุ่นของหลอดเลือด
รายการตรวจ
1. ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
2. ตรวจความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
3. เอกซเรย์ปอด
4. ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)
5. ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด
6. ตรวจการแข็งตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย (ABI)
7. ตรวจหลอดเลือดแดงใหญ่ที่คอ (Doppler of Both Carotid)
8. เอกซเรย์เต้านมระบบดิจิทัล (Digital Mammography)
9. ตรวจเต้านมโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
10. ตรวจ PV & PAP Test (Thin Prep)
11. ตรวจสุขภาพโดยสูตินรีแพทย์
12. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (FBS)
13. ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด (HbA1c)
14. ตรวจการทำงานของไต (BUN)
15. ตรวจการทำงานของไต (Creatinine รวม eGFR)
16. ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด
17. ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด
18. ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด
19. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดดี) HDL-Cholesterol
20. ตรวจระดับไขมันในเลือด (ชนิดไม่ดี) LDL-Cholesterol
21. ตรวจการทำงานของตับ (SGOT)
22. ตรวจการทำงานของตับ (SGPT)
23. ตรวจการทำงานของตับ (Alk Phosphatase)
24. ตรวจการทำงานของตับ (Total Protein)
25. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
26. ตรวจปัสสาวะ (UA)
27. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ (FT4)
28. ตรวจการกระตุ้นฮอร์โมนไทรอยด์ (TSH)
29. ตรวจคัดกรองมะเร็งตับ (AFP)
30. ตรวจคัดกรองมะเร็งระบบทางเดินอาหาร (CEA)
31. ตรวจคัดกรองมะเร็งรังไข่ (CA19-9)
32. วัคซีนไข้หวัดใหญ่



ทำไมคนที่ชอบออกกำลังกาย ถึงควรตรวจสุขภาพ
สำหรับผู้ที่เพิ่งเริ่มต้นออกกำลังกาย “การตรวจสุขภาพเพื่อเช็กความพร้อม” เป็นสิ่งที่สำคัญ เพราะการรู้จักร่างกาย รู้ว่าการทำงานของตับ ไต หัวใจ และปอดของเราเป็นยังไง จะช่วยให้รู้ว่า…การออกกำลังกายแบบไหนที่เหมาะสมกับสุขภาพร่างกายของเรา ณ ปัจจุบัน พร้อมทั้งหลังการออกกำลังกายไปซักระยะหนึ่ง เรายังสามารถนำผลตรวจสุขภาพมาเปรียบเทียบเพื่อสังเกตการเปลี่ยนแปลงของค่าต่างๆ ได้อีกด้วย

ส่วนผู้ที่ชื่นชอบการออกกำลังกายเป็นประจำอยู่แล้ว ก็ไม่ได้แปลว่า…การตรวจสุขภาพไม่สำคัญ! เพราะการออกกำลังกายหนักๆ เช่น เวทเทรนนิ่ง ก็อาจเพิ่มโอกาสให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจหนา ซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดหัวใจวายเฉียบพลันได้ หรือการออกกำลังกายหนักๆ ซ้ำๆ ติดต่อกันเป็นระยะเวลานานๆ ยังอาจส่งผลให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อสลาย ซึ่งหากปล่อยให้อยู่ในระดับรุนแรง อาจส่งผลให้เกิดไตวายได้
รายการตรวจ
1.ตรวจวัดสัญญาณชีพ (Vital sign)
2.ตรวจวัดดัชนีมวลกาย (BMI)
3.ชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง (Height & Weight)
4.ตรวจวัดความสามารถในการมองเห็น (Vision Test)
5.ตรวจสายตา สั้น ยาว เอียง (Short sight, Long sight, Squinting)
6.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram)
7.ตรวจเอกซเรย์ปอดและหัวใจ (Chest x – ray)
8.ตรวจความสมบูรณ์ของเลือด (Complete Blood Count)
9.ตรวจปัสสาวะสมบูรณ์แบบ (Urine Examination)
10.ตรวจการทำงานของไต Creatinine (GFR)
11.ตรวจน้ำตาลในเลือด (Fasting Blood Sugar)
12.ตรวจไขมันคลอเรสเทอรอล (Cholesterol)
13.ตรวจไขมันไตรกลีเซอร์ไรด์ (Triglyceride)
14.ตรวจไขมัน(ดี) (HDL- Cholesterol)
15.ตรวจไขมัน(ไม่ดี) (LDL- Cholesterol)
16.ตรวจการทำงานของตับ (SGOT)
17.ตรวจการทำงานของตับ (SGPT)
18.ตรวจการทำงานของตับ (Alk Phophatase)
19.ตรวจการทำงานของไต (BUN)
20.ตรวจระดับกรดยูริก (Uric Acid)
21.พบแพทย์เฉพาะทางหัวใจและหลอดเลือด (Consult with Cardiologist)
22.ตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย (Exercise Stress Test)



โปรแกรมนี้ เหมาะกับผู้ที่ชอบออกกำลังกายอย่างไร?
เราอาจจะเคยคิดว่า ยิ่งออกกำลังกาย…ยิ่งมีสุขภาพดี แต่รู้ไหมว่า? ถ้าออกกำลังกายไม่เหมาะสมกับสุขภาพร่างกายของตัวเอง จะยิ่งทำลายสุขภาพของคุณให้แย่ลง ซึ่งนอกจากการตรวจดูการทำงานของตับ ไต หัวใจ ปอด แล้ว “ความสมดุลของฮอร์โมนไทรอยด์” ก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญที่คนชอบออกกำลังกายควรคำนึงถึง ด้วยหน้าที่ของฮอร์โมนที่มีส่วนช่วยควบคุมการทำงานของต่อมหมวกไต ระบบเผาผลาญ การสร้างพลังงานในร่างกาย เพราะฉะนั้น การที่มีระดับฮอร์โมนไทรอยด์ไม่สมดุล…จึงอาจส่งผลกระทบต่อการทำงานของระบบต่างๆ เช่น หัวใจ สมอง กล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บ หรือยิ่งเร่งให้ร่างกายเสื่อมเร็วกว่าปกติได้
รายการตรวจ
1.ตรวจวัดสัญญาณชีพ (Vital sign)
2.ตรวจวัดดัชนีมวลกาย (BMI)
3.ชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง (Height & Weight)
4.ตรวจวัดความสามารถในการมองเห็น (Vision Test)
5.ตรวจสายตา สั้น ยาว เอียง (Short sight, Long sight, Squinting)
6.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram)
7.ตรวจเอกซเรย์ปอดและหัวใจ (Chest x – ray)
8.ตรวจความสมบูรณ์ของเลือด (Complete Blood Count)
9.ตรวจปัสสาวะสมบูรณ์แบบ (Urine Examination)
10.ตรวจการทำงานของไต (Creatinine (GFR))
11.ตรวจน้ำตาลในเลือด (Fasting Blood Sugar)
12.ตรวจไขมันคลอเรสเทอรอล (Cholesterol)
13.ตรวจไขมันไตรกลีเซอร์ไรด์ (Triglyceride)
14.ตรวจไขมัน(ดี) (HDL- Cholesterol)
15.ตรวจไขมัน(ไม่ดี) (LDL- Cholesterol)
16.ตรวจการทำงานของตับ (SGOT)
17.ตรวจการทำงานของตับ (SGPT)
18.ตรวจการทำงานของตับ (Alk Phophatase)
19.ตรวจการทำงานของไต (BUN)
20.ตรวจระดับกรดยูริก (Uric Acid)
21.พบแพทย์เฉพาะทางหัวใจและหลอดเลือด (Consult with Cardiologist)
22.ตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย (Exercise Stress Test)
23.ตรวจคัดกรองภาวะหลอดเลือดแดงที่คอ (Doppler of Both Carotid system)
24.ตรวจภาวะกระดูกพรุน 3 ส่วน (Bone Density 3 Parts)
25.ตรวจเอกซเรย์เข่า 2 ข้าง (Knee x-ray)
26.ทดสอบความแข็งแรงของขาและหลัง (Back & Leg Dynamometer)
27.ตรวจความยืดหยุ่นกล้ามเนื้อบริเวณต้นขาด้านหน้าและหลังส่วนล่าง (Sit & Reach Test)
28.พบแพทย์เฉพาะเวชศาสตร์ชะลอวัย (Consult with Anti-Aging Medicine)
29.พบแพทย์เฉพาะเวชศาสตร์กายภาพ (Consult with Consult Regenerative Medicine)
30.พบนักกายภาพ (Physical Therapist)
31.ตรวจฮอร์โมนไทรอยด์ (Free T3)
32.ตรวจฮอร์โมนไทรอยด์ (T4)
33.ตรวจฮอร์โมนไทรอยด์ (TSH)
34.ตรวจฮอร์โมนต่อมหมวกไต (DHEA-S)



เตรียมตัวก่อนดำน้ำอย่างไร? ไม่ให้ร่างพัง
การตรวจสุขภาพก่อนดำน้ำ เป็นการเตรียมความพร้อมของร่างกาย เพื่อรับมือกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป จากแรงดันอากาศและก๊าซไนโตรเจนที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งหากทำการดำน้ำในสภาพร่างกายที่ไม่พร้อม ก็มีโอกาสเสี่ยงต่ออาการปวดหู ปอดแฟบ หายใจลำบาก เห็นภาพหลอนหรือรุนแรงถึงขั้นหมดสติได้ ดังนั้น การตรวจสุขภาพก่อนดำน้ำ จะช่วยลดความเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุจากปัญหาด้านสุขภาพขณะดำน้ำ
รายการตรวจ
1.ตรวจวัสัญญาณชีพ (Vital Sign)
2.ตรวจวัดดัชนีมวลกาย (BMI)
3.ชั่งน้ำหนัก , วัดส่วนสูง (Height & Weight)
4.ตรวจการได้ยิน (Audiogram)
5.ตรวจสมรรถภาพปอด (Lung Function Test)
6.ตรวจเอกซเรย์ปอดและหัวใจ (Chest X-Ray)
7.ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (Complete Blood Count)
8.ตรวจการทำงานของไต (Creatinine (GFR))



เป็นการเตรียมความพร้อมร่างกายก่อนออกกำลังกายหรือเล่นกีฬา ซึ่งจะช่วยเช็กความแข็งแรงของร่างกายว่ามีความพร้อมต่อการออกกำลังกายหรือไม่ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงที่อาจทำให้เกิดอาการบาดเจ็บขณะเล่นกอล์ฟ
โปรแกรมนี้ เหมาะสำหรับ… นักกอล์ฟมืออาชีพ นักกีฬากอล์ฟสมัครเล่น ที่ต้องการตรวจประเมินร่างกายและต้องการตรวจสุขภาพเบื้องต้น
รายการตรวจ
1.ตรวจวัดสัญญาณชีพ (Vital Sign)
2.ตรวจวัดดัชนีมวลกาย (BMI)
3.ชั่งน้ำหนัก – วัดส่วนสูง (Hight & Weight)
4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)
5.ตรวจเอกซเรย์ปอดและหัวใจ (Chest X-ray)
6.ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
7.ตรวจการทำงานของไต (Creatinine)
8.ตรวจน้ำตาลในเลือด (Fasting Blood Sugar)
9.ตรวจไขมันคลอเรสแทอรอล (Cholesterol)
10.ตรวจไขมันไตรกลีเซอร์ไรด์ (Triglyceride)
11.ตรวจวัดระดับไขมัน (HDL)
12.ตรวจวัดระดับไขมัน (LDL)
13.ตรวจการทำงานของตับ (SGOT)
14.ตรวจการทำงานของตับ (SGPT)
15.ตรวจระดับกรดยูริก (Uric)



การฉีดวิตามินเข้าสู่ร่างกาย

ดริปวิตามินทางหลอดเลือด ดียังไง?
1. การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ ช่วยให้ร่างกายสามารถ
2. ดูดซึมวิตามินได้เกือบทั้งหมด 100 % เห็นผลไวกว่าการทาน
3. ไม่ตกค้าง และไม่เกิดผลข้างเคียงต่อระบบร่างกาย
รายการตรวจ
สูตร Calming & Relaxing
1. ช่วยดีท็อกซ์
2. ฟื้นฟูความกระจ่างใสของผิวพรรณ
3. ช่วยให้รู้สึกผ่อนคลาย
4. บำรุงสารสื่อประสาท คลายเครียด


ดริปวิตามินทางหลอดเลือด ดียังไง?
1. การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ ช่วยให้ร่างกายสามารถ
2. ดูดซึมวิตามินได้เกือบทั้งหมด 100 % เห็นผลไวกว่าการทาน
3. ไม่ตกค้าง และไม่เกิดผลข้างเคียงต่อระบบร่างกาย
รายการตรวจ
สูตร Calming & Relaxing
1. ช่วยดีท็อกซ์
2. ฟื้นฟูความกระจ่างใสของผิวพรรณ
3. ช่วยให้รู้สึกผ่อนคลาย
4. บำรุงสารสื่อประสาท คลายเครียด


ดริปวิตามินทางหลอดเลือด ดียังไง?
1. การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ ช่วยให้ร่างกายสามารถ
2. ดูดซึมวิตามินได้เกือบทั้งหมด 100 % เห็นผลไวกว่าการทาน
3. ไม่ตกค้าง และไม่เกิดผลข้างเคียงต่อระบบร่างกาย
รายการตรวจ
สูตร Calming & Relaxing
1. ช่วยดีท็อกซ์
2. ฟื้นฟูความกระจ่างใสของผิวพรรณ
3. ช่วยให้รู้สึกผ่อนคลาย
4. บำรุงสารสื่อประสาท คลายเครียด


ดริปวิตามินทางหลอดเลือด ดียังไง?
1. การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ ช่วยให้ร่างกายสามารถ
2. ดูดซึมวิตามินได้เกือบทั้งหมด 100 % เห็นผลไวกว่าการทาน
3. ไม่ตกค้าง และไม่เกิดผลข้างเคียงต่อระบบร่างกาย
สูตร Brain Booster Cerebrolysin
- เพิ่มประสิทธิภาพสมองและความจำ
- ตัวช่วยในการดูแลสมองและสารสื่อประสาท
- เสริมเยื่อหุ้มปลายประสาทให้นำกระแส
ประสาทได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ช่วยเรื่องวงจรการนอนหลับ ช่วยให้หลับได้ดี



ดริปวิตามินทางหลอดเลือด ดียังไง?
- การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ ช่วยให้ร่างกาย
- สามารถดูดซึมวิตามินได้เกือบทั้งหมด 100 %
- เห็นผลไวกว่าการทาน ไม่ตกค้าง และไม่เกิด
- ผลข้างเคียงต่อระบบร่างกาย
สูตร Brain Booster Cerebrolysin
- เพิ่มประสิทธิภาพสมองและความจำ
- ตัวช่วยในการดูแลสมองและสารสื่อประสาท
- เสริมเยื่อหุ้มปลายประสาทให้นำกระแสประสาทได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ช่วยเรื่องวงจรการนอนหลับ ช่วยให้หลับได้ดี



ดริปวิตามินทางหลอดเลือด ดียังไง?
- การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ ช่วยให้ร่างกาย
- สามารถดูดซึมวิตามินได้เกือบทั้งหมด 100 %
- เห็นผลไวกว่าการทาน ไม่ตกค้าง และไม่เกิด
- ผลข้างเคียงต่อระบบร่างกาย
สูตร Brain Booster Cerebrolysin
- เพิ่มประสิทธิภาพสมองและความจำ
- ตัวช่วยในการดูแลสมองและสารสื่อประสาท
- เสริมเยื่อหุ้มปลายประสาทให้นำกระแสประสาทได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ช่วยเรื่องวงจรการนอนหลับ ช่วยให้หลับได้ดี



วัคซีน HPV

เงื่อนไขการเข้ารับบริการ
1. ราคารวมค่าแพทย์ ค่าบริการ รพ. และค่าบริการพยาบาล
2. โทรนัดล่วงหน้าเท่านั้นที่หมายเลข Phyathai Call Center 1772
3. รับบริการได้ที่ศูนย์สุขภาพหญิง ชั้น 2 อาคาร A รพ.พญาไท 2

ตรวจระดับฮอร์โมน

โปรแกรมตรวจระดับฮอร์โมนในร่างกาย เพื่อดูความสมดุลของฮอร์โมน ว่ามีความเปลี่ยนแปลงไปหรือไม่ เหมาะสำหรับผู้ที่มีอายุ 30 ปีขึ้นไป หรือผู้ที่มีปัญหานอนไม่หลับหรือนอนหลับไม่สนิท หลับยาก ปัญหาวัยทอง หงุดหงิดง่าย อารมณ์แปรปรวน ความรู้สึกทางเพศลดลง หากมีความไม่สมดุลของฮอร์โมนเพศ ซึ่งจะส่งผลให้มีอาการของวัยทองเร็วหรือรุนแรงมากกว่าที่ควร เมื่อเห็นสาเหตุของปัญหาแล้ว แพทย์จะแนะนำถึงกิจวัตรประจำวันบางอย่างที่ควรได้รับการแก้ไข สารอาหารที่ควรบริโภคให้มากขึ้นหรือควรได้รับเป็นวิตามินเสริม อาหารบางอย่างที่ควรหลีกเลี่ยง รวมถึงอาจพิจารณาว่าการใช้ฮอร์โมนเสริมในแต่ละราย

รายการตรวจ
1.Free T3 (Free T3)
2.FT4 (Free T4)
3.TSH (Thyroid Stimulating hormone)
4.E2 (Estradiol)
5.LH
6.FSH
7.Testosterone
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

โปรแกรมตรวจระดับฮอร์โมนในร่างกาย เพื่อดูความสมดุลของฮอร์โมน ว่ามีความเปลี่ยนแปลงไปหรือไม่ เหมาะสำหรับผู้ที่มีอายุ 30 ปีขึ้นไป หรือผู้ที่มีปัญหานอนไม่หลับหรือนอนหลับไม่สนิท หลับยาก ปัญหาวัยทอง หงุดหงิดง่าย อารมณ์แปรปรวน ความรู้สึกทางเพศลดลง หากมีความไม่สมดุลของฮอร์โมนเพศ ซึ่งจะส่งผลให้มีอาการของวัยทองเร็วหรือรุนแรงมากกว่าที่ควร เมื่อเห็นสาเหตุของปัญหาแล้ว แพทย์จะแนะนำถึงกิจวัตรประจำวันบางอย่างที่ควรได้รับการแก้ไข สารอาหารที่ควรบริโภคให้มากขึ้นหรือควรได้รับเป็นวิตามินเสริม อาหารบางอย่างที่ควรหลีกเลี่ยง รวมถึงอาจพิจารณาว่าการใช้ฮอร์โมนเสริมในแต่ละราย

รายการตรวจ
1.Free T3 (Free T3)ตรวจวัดปริมาณฮอร์โมนไทรอยด์ไทรอยด์
2.FT4 (Free T4) ตรวจวัดปริมาณฮอร์โมนไทรอยด์
3.TSH (Thyroid Stimulating hormone) ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์
4.E2 (Estradiol) ตรวจฮอร์โมนส์เพศหญิง
5.LH ตรวจฮอร์โมน
6.FSH ตรวจระดับฮอร์โมน
7.Progesterone ตรวจฮอร์โมนโพรเจสเตอโรน
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

โปรแกรมตรวจระดับฮอร์โมนในร่างกาย เพื่อดูความสมดุลของฮอร์โมน ว่ามีความเปลี่ยนแปลงไปหรือไม่ เหมาะสำหรับผู้ที่มีอายุ 30 ปีขึ้นไป หรือผู้ที่มีปัญหานอนไม่หลับหรือนอนหลับไม่สนิท หลับยาก ปัญหาวัยทอง หงุดหงิดง่าย อารมณ์แปรปรวน ความรู้สึกทางเพศลดลง หากมีความไม่สมดุลของฮอร์โมนเพศ ซึ่งจะส่งผลให้มีอาการของวัยทองเร็วหรือรุนแรงมากกว่าที่ควร เมื่อเห็นสาเหตุของปัญหาแล้ว แพทย์จะแนะนำถึงกิจวัตรประจำวันบางอย่างที่ควรได้รับการแก้ไข สารอาหารที่ควรบริโภคให้มากขึ้นหรือควรได้รับเป็นวิตามินเสริม อาหารบางอย่างที่ควรหลีกเลี่ยง รวมถึงอาจพิจารณาว่าการใช้ฮอร์โมนเสริมในแต่ละราย
รายการตรวจ
1.Consultation Anti-Aging Medicine ตรวจสุขภาพโดยแพทย์เวชศาสตร์ป้องกัน
2.Luteinizing Hormones (LH) ตรวจระดับฮอร์โมนเพศ
3.Follicle Stimulating Hormone (FSH) ตรวจระดับฮอร์โมนเพศ
4.Estradiol ( E2) ตรวจระดับฮอร์โมนเพศ
5.Testosterone ตรวจระดับฮอร์โมนเพศ
6.Thyroid Stimulating Hormone (TSH) ตรวจะดับฮอร์โมนไทรอยด์
7.Free T3 ตรวจะดับฮอร์โมนไทรอยด์
8.Free T4 ตรวจะดับฮอร์โมนไทรอยด์
9.Dehydroepiandrosterone Sulphate (DHEA) ตรวจระดับฮอร์โมนต้านความเครียด (ฮอร์โมนความสุข)
10.IGF1 ตรวจระดับฮอร์โมนที่แสดงอายุจริงของร่างกาย
11.IGFBP3 ตรวจระดับฮอร์โมนที่แสดงอายุจริงของร่างกาย
12.Sex Hormone Binding Globulin ตรวจระดับฮอร์โมนที่แสดงอายุจริงของร่างกาย
13.insu.lin ตรวจระดับน้ำตาลในตับอ่อน


โปรแกรมตรวจระดับฮอร์โมนในร่างกาย เพื่อดูความสมดุลของฮอร์โมน ว่ามีความเปลี่ยนแปลงไปหรือไม่ เหมาะสำหรับผู้ที่มีอายุ 30 ปีขึ้นไป หรือผู้ที่มีปัญหานอนไม่หลับหรือนอนหลับไม่สนิท หลับยาก ปัญหาวัยทอง หงุดหงิดง่าย อารมณ์แปรปรวน ความรู้สึกทางเพศลดลง หากมีความไม่สมดุลของฮอร์โมนเพศ ซึ่งจะส่งผลให้มีอาการของวัยทองเร็วหรือรุนแรงมากกว่าที่ควร เมื่อเห็นสาเหตุของปัญหาแล้ว แพทย์จะแนะนำถึงกิจวัตรประจำวันบางอย่างที่ควรได้รับการแก้ไข สารอาหารที่ควรบริโภคให้มากขึ้นหรือควรได้รับเป็นวิตามินเสริม อาหารบางอย่างที่ควรหลีกเลี่ยง รวมถึงอาจพิจารณาว่าการใช้ฮอร์โมนเสริมในแต่ละราย
รายการตรวจ
1.Consultation Anti-Aging Medicine ตรวจสุขภาพโดยแพทย์เวชศาสตร์ป้องกัน
2.Luteinizing Hormones (LH) ตรวจระดับฮอร์โมนเพศ
3.Follicle Stimulating Hormone (FSH) ตรวจระดับฮอร์โมนเพศ
4.Estradiol ( E2) ตรวจระดับฮอร์โมนเพศ
5.Progesterone ตรวจระดับฮอร์โมนเพศ
6.Thyroid Stimulating Hormone (TSH) ตรวจะดับฮอร์โมนไทรอยด์
7.Free T3 ตรวจะดับฮอร์โมนไทรอยด์
8.Free T4 ตรวจะดับฮอร์โมนไทรอยด์
9.Dehydroepiandrosterone Sulphate (DHEA) ตรวจระดับฮอร์โมนต้านความเครียด (ฮอร์โมนความสุข)
10.IGF1 ตรวจระดับฮอร์โมนที่แสดงอายุจริงของร่างกาย
11.IGFBP3 ตรวจระดับฮอร์โมนที่แสดงอายุจริงของร่างกาย
12.Sex Hormone Binding Globulin ตรวจระดับฮอร์โมนที่แสดงอายุจริงของร่างกาย
13.insu.lin ตรวจระดับน้ำตาลในตับอ่อน



การประเมินระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการนอนหลับอย่างครอบคลุม โปรแกรมนี้มีเป้าหมายเพื่อตรวจหาความไม่สมดุลของฮอร์โมนที่อาจส่งผลต่อคุณภาพการนอนหลับ เช่น อาการนอนไม่หลับ การนอนหลับที่ไม่สงบ หรือความรู้สึกเหนื่อยล้าเมื่อตื่นนอน
1.ตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ Physical Examination
2.วัดความดันโลหิต ชีพจร ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง Vital sign
3.ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย CRP High Sense
4.ตรวจระดับฮอร์โมนต้านความเครียด DHEAs
5.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน IGF1
6.ตรวจระดับวิตามินดี Vitamin D total



หากคุณมีอาการเหล่านี้ ได้แก่

1.รู้สึกเครียด วิตกกังวล ไม่สบายใจ
2.มีปัญหาความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
3.รู้สึกเศร้า ไม่มีความสุข
4.นอนไม่หลับ นอนไม่สนิท หลับๆตื่น
5.พฤติกรรมผิดปกติไปจากเดิม
6.ปวดหัว ปวดหลัง ปวดหัวใจ แน่นหน้าอก คลื่นไส้ ซึ่งหาสาเหตุทางกายไม่ได้
รายละเอียดโปรแกรม

1.พบแพทย์ซักประวัติและตรวจสุขภาพ (Physical Examination)
2.ตรวจฮอร์โมนความสุข (DHEA) หรือฮอร์โมนต้านความเครียด
3.ตรวจฮอร์โมนความเครียด (Cortisol)
4.ตรวจปัสสาวะดูความเสียหายต่อเซลล์ประสาทและเนื้อเยื่อต่างๆ เซลล์สมอง (Urine Kryptopyrroles)



ตรวจเบาหวาน

เป็นการตรวจคัดกรองและประเมินสภาพสุขภาพสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงหรือผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน เพื่อตรวจสอบความเสี่ยงและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากโรคเบาหวาน
รายการตรวจ
1.ซักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์
2.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
3.ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
4.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
5.ตรวจติดตามควบคุมเบาหวาน
6.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไขมันไม่ดีในเลือด)
7.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด
8.ตรวจการทำงานของไต
9.ตรวจการทำงานของตับ
10.ตรวจสุขภาพตาโดยจักจักษุแพทย์
11.ตรวจวัดระดับไมโครอัลบูมินในปัสสาวะ
12.ตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยการเดินสายพาน
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

เป็นการตรวจคัดกรองและประเมินสภาพสุขภาพสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงหรือผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน เพื่อตรวจสอบความเสี่ยงและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากโรคเบาหวาน
รายการตรวจ
1.ซักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์
2.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
3.ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
4.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
5.ตรวจติดตามควบคุมเบาหวาน
6.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไขมันไม่ดีในเลือด)
7.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด
8.ตรวจการทำงานของไต
9.ตรวจการทำงานของตับ
10.ตรวจสุขภาพตาโดยจักจักษุแพทย์
11.ตรวจวัดระดับไมโครอัลบูมินในปัสสาวะ
12.ตรวจวัดการเกาะของแคลเซียมที่ผนังหลอดเลือด
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

เป็นการตรวจคัดกรองและประเมินสภาพสุขภาพสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงหรือผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน เพื่อตรวจสอบความเสี่ยงและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากโรคเบาหวาน
รายการตรวจ
1.Glucose (Sigar, FBS)
2.Creatinine (plus eGFR) ตรวจการทำงานของไต
3.Triglyceride ตรวจหาไขมันในเลือด
4.LDL - Cholesterol (Direct) ตรวจหาไขมันไม่ดีในเลือด
5.SGPT (ALT) ตรวจการทำงานของตับ
6.HbA1c ตรวจน้ำตาลในเลือด
7.Microalbumin (MAU) วัดระดับไมโครอัลบูมินในปัสสาวะ
8.CBCตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
9.EKG ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
10.Echocardiography ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

รักษาหย่อนสมรรถภาพ

โรคเกี่ยวกับสมรรถภาพทางเพศ พบได้ในเพศชายที่มีอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป แต่ก็มีความเสี่ยงพบได้ตั้งแต่อายุ 40-45 ปี สาเหตุจากปัญหาสุขภาพ ขาดการออกกำลังกาย การดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ ความเครียด ความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า อาจมีผลทำให้เกิดการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ได้โดยไม่รู้ตัว
รายการตรวจ
1.Glucose (Sigar, FBS) การตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด
2.Cholesterol ตรวจหาไขมันในเลือด
3.Triglyceride ตรวจหาไขมันในเลือด
4.HDL - Cholesterol ตรวจหาไขมันดีในเลือด
5.LDL - Cholesterol (Direct) ตรวจหาไขมันไม่ดีในเลือด
6.CBCตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
7.TSH (Thyroid Stimulating hormone) ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์
8.Testosterone ตรวจฮอร์โมนเพศชาย
9.PSA (Prostatic Specific Antigen) ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ตรวจวิตามินในร่างกาย

ตรวจระดับวิตามิน สารต้านอนุมูลอิสระ Micronutrients และวิตามิน ในร่างกาย
รายการตรวจ
1.Consultation Anti-Aging Medicine ตรวจสุขภาพโดยแพทย์เวชศาสตร์ป้องกัน
2.Vitamin C (HPLC) ตรวจระดับวิตามินซีในร่างกาย
3.Vitamin A (HPLC) ตรวจระดับวิตามินเอในร่างกาย
4.Vitamin E (HPLC) ตรวจระดับวิตามินอีในร่างกาย
5.Gamma Tocopherol ตรวจระดับวิตามินอีในร่างกาย
6.Beta Carotene ตรวจระดับเบต้าแคโรทีนในร่างกาย
7.Alpha Carotene ตรวจระดับแอลฟ่าแคโรทีนในร่างกาย
8.Coenzyme Q10 (HPLC) ตรวจระดับโคเอนไซม์คิวเทนซึ่งเป็นสารตั้งต้นของพลังงานในร่างกาย
9.Lutein ตรวจระดับลูทีนในร่างกาย
10.Zeaxanthin ตรวจระดับซีแซนทีน ในร่างกาย
11.Beta cryptoxanthin ตรวจระดับเบต้า คริปโตแซนธินในร่างกาย
12.Lycopene ตรวจระดับสารไลโคปีนในร่างกาย
13.Folate (Serum) ตรวจความสมดุลของแร่ธาตุและเกลือแร่ต่างๆในร่างกาย (โฟเลท)
14.Vitamin B12 ตรวจความสมดุลของแร่ธาตุและเกลือแร่ต่างๆในร่างกาย (วิตามินบี 12)
15.Chromium in Blood ตรวจความสมดุลของแร่ธาตุและเกลือแร่ต่างๆในร่างกาย (โคเมี่ยม)
16.Copper in Blood ตรวจความสมดุลของแร่ธาตุและเกลือแร่ต่างๆในร่างกาย (ทองแดง)
17.Ferritin ตรวจความสมดุลของแร่ธาตุและเกลือแร่ต่างๆในร่างกาย (เฟอร์ริทิน)
18.Magnesium ตรวจความสมดุลของแร่ธาตุและเกลือแร่ต่างๆในร่างกาย (แมกนีเซียม)
19.Selenium in Blood ตรวจความสมดุลของแร่ธาตุและเกลือแร่ต่างๆในร่างกาย (เซเลเนียม)
20.Zinc in Blood ตรวจความสมดุลของแร่ธาตุ และเกลือแร่ต่างๆในร่างกาย (สังกะสี)



ร่างกายเราขาดวิตามินตัวไหน เพื่อเติมวิตามินที่ร่างกายขาด ให้กลับมาสู่ภาวะสมดุลด้วยโปรแกรมตรวจระดับวิตามินในร่างกาย 10 ชนิด
รายการตรวจ
1.Consultation Anti-Aging Medicine ตรวจสุขภาพโดยแพทย์เวชศาสตร์ป้องกัน
2.Vitamin C (HPLC) ตรวจระดับวิตามินซีในร่างกาย
3.Vitamin A (HPLC) ตรวจระดับวิตามินเอในร่างกาย
4.Vitamin E (HPLC) ตรวจระดับวิตามินอีในร่างกาย
5.Gamma Tocopherol ตรวจระดับวิตามินอีในร่างกาย
6.Beta Carotene ตรวจระดับเบต้าแคโรทีนในร่างกาย
7.Alpha Carotene ตรวจระดับแอลฟ่าแคโรทีนในร่างกาย
8.Coenzyme Q10 (HPLC) ตรวจระดับโคเอนไซม์คิวเทนซึ่งเป็นสารตั้งต้นของพลังงานในร่างกาย
9.Lycopene ตรวจระดับสารไลโคปีนในร่างกาย
10.Lutein ตรวจระดับลูทีน
11. Zeaxanthin ตรวจระดับซีแซนทีน



วัคซีนทั่วไป

โรคไวรัสตับอักเสบเอ คือโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสตับอักเสบเอ ติดต่อทางการรับประทานอาหารและน้ำดื่มที่มีเชื้อปนเปื้อน อาการของโรค ได้แก่ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน เจ็บชายโครงขวา ตัวเหลือง ตาเหลือง และตับวาย เมื่อติดเชื้อโรคนี้แล้ว มักหายขาดและมีภูมิคุ้มกันต่อโรค ไม่ก่อให้เกิดภาวะตับอักเสบเรื้อรัง เหมือนกับโรคไวรัสตับอักเสบบี

วัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบเอ
ทำมาจากเชื้อไวรัสตับอักเสบเอ ที่ตายแล้ว เป็นวัคซีนที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัย ใช้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ 2 ครั้ง ห่างกัน 6-12 เดือน

- ผู้ที่ “ควร” ได้รับวัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบเอ
- ผู้ที่ยังไม่มีภูมิคุ้มกันต่อโรค
- เด็กอายุตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป
- ผู้ที่มีอาชีพเสี่ยงต่อการรับและแพร่กระจายของโรค ได้แก่ ผู้ประกอบอาหาร สถานเลี้ยงเด็ก กองทัพ บุคลากรทางการแพทย์
- นักท่องเที่ยวที่จะเดินทางไปแหล่งระบาด เช่น แถบอเมริกากลาง อเมริกาใต้ แถบทะเลคาริบเบียน เอเชีย (ยกเว้นประเทศญี่ปุ่น) แอฟริกา และยุโรปตะวันออก โดยควรฉีดอย่างน้อย 1 เดือน ก่อนเดินทาง
- ผู้ที่เป็นโรคตับเรื้อรัง เช่น ผู้ที่เป็นไวรัสตับอักเสบบี ผู้ที่ติดแอลกอฮอล์
- ผู้ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับผู้ชาย
- ผู้ที่ใช้ยาเสพติด
- ผู้ที่คลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ที่ติดเชื้อ
- ผู้ที่เป็นโรค Hemophilia
- ผู้ที่ “ควรงด” รับวัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบเอ
- เคยมีประวัติแพ้วัคซีนโรคไวรัสตับอักเสบเอในครั้งก่อน หรือแพ้ส่วนผสมต่างๆ ในวัคซีน
- หากมีไข้สูงเจ็บป่วยเฉียบพลัน ควรเลื่อนการฉีดวัคซีนออกไปก่อน รอให้หายป่วยก่อนจึงค่อยมารับวัคซีน
- กรณีเป็นหวัดเล็กน้อย ไม่มีไข้ สามารถรับวัคซีนได้
รายการตรวจ
1. วัคซีนไวรัสตับอักเสบ A จำนวน 2 เข็ม
2. ซักประวัติและให้คำแนะนำวัคซีนโดยอายุรแพทย์
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

โรคไวรัสตับอักเสบ บี เป็นโรคซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี ติดต่อโดยการสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งของผู้ที่ติดเชื้อผ่านทางผิวหนังที่มีบาดแผล การใช้ของส่วนตัวที่ปนเปื้อนเลือด หรือสารคัดหลั่งร่วมกับผู้ที่ติดเชื้อ เช่น มีดโกน แปรงสีฟัน ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน และจากมารดาสู่ทารก ซึ่งหากร่างกายไม่สามารถกำจัดเชื้อได้จะกลายเป็นพาหะของโรค และเพิ่มโอกาสเกิดภาวะตับแข็ง และมะเร็งตับได้

อาการบ่งชี้…เข้าข่าย “โรคไวรัสตับอักเสบ บี”
มีไข้ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน เจ็บชายโครง ตัวเหลือง ตาเหลือง หากร่างกายไม่สามารถกำจัดเชื้อได้จะกลายเป็นพาหะของโรค ซึ่งนอกจากจะแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้แล้ว ยังมีโอกาสเกิดภาวะตับแข็ง และมะเร็งตับได้

วัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบ บี
ทำมาจากโปรตีนผิวนอกของเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี ใช้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ 3 ครั้ง ที่ 0, 1, 6 เดือน

- ผู้ที่ “ควร” เข้ารับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบ บี
- ผู้ที่ยังไม่มีภูมิคุ้มกันต่อโรคไวรัสตับอักเสบ บี
- เด็กแรกเกิดในประเทศไทยทุกคน รวมถึงเด็กที่ยังไม่เคยได้รับวัคซีนนี้มาก่อน
- ผู้ใหญ่ที่เสี่ยงต่อการสัมผัสโรค เช่น คู่สมรสของผู้ที่เป็นพาหะของเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี ผู้ที่ต้องได้รับเลือดบ่อยๆ ผู้ป่วยฟอกไต บุคลากรทางการแพทย์ ผู้ที่ใช้ยาเสพติด ผู้ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับผู้ชาย ผู้ที่เป็นโรคตับ โรคไตเรื้อรัง
- นักท่องเที่ยวที่จะเดินทางเข้าไปยังประเทศที่เป็นแหล่งระบาด หรือมีความชุกของโรคสูง
- ในเด็กโตที่อายุมากกว่า 10 ปีขึ้นไปและผู้ใหญ่ ควรตรวจเลือดก่อนฉีดวัคซีนนี้ เพื่อดูว่ามีภูมิคุ้มกันอยู่ก่อนการฉีดวัคซีนหรือไม่ เนื่องจากบางรายอาจเคยติดเชื้อ และมีภูมิคุ้มกันโรคตามธรรมชาติอยู่แล้ว
- ผู้ที่ “ควรงด” รับวัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบ บี
- เคยมีประวัติแพ้วัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบ บี ในครั้งก่อน หรือแพ้ต่อส่วนผสมต่างๆ ในวัคซีน
- หากมีไข้ หรือเจ็บป่วยเฉียบพลัน ควรเลื่อนการฉีดวัคซีนออกไปก่อน รอให้หายป่วยก่อนจึงค่อยมารับวัคซีน
- กรณีเป็นหวัดเล็กน้อย ไม่มีไข้ สามารถรับวัคซีนได้
รายการตรวจ
1. วัคซีนไวรัสตับอักเสบ B จำนวน 3 เข็ม
2. ซักประวัติและให้คำแนะนำวัคซีนโดยอายุรแพทย์
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

วัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบเอและบี

1. โรคไวรัสตับอักเสบเอ (Hepatitis A)
เกิดจากเชื้อไวรัสตับอักเสบเอ ติดต่อผ่านอาหารและน้ำที่ปนเปื้อน อาการ ได้แก่ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน เจ็บชายโครง ตัวเหลือง ตาเหลือง และตับวาย โรคนี้มักหายขาด ไม่เกิดภาวะตับอักเสบเรื้อรัง

วัคซีน: ผลิตจากเชื้อไวรัสที่ตายแล้ว มีความปลอดภัย ใช้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ 2 ครั้ง ห่างกัน 6-12 เดือน

ผู้ที่ควรได้รับวัคซีน
-ผู้ไม่มีภูมิคุ้มกัน
-เด็กอายุ 1 ปีขึ้นไป
-ผู้มีอาชีพเสี่ยง เช่น ผู้ประกอบอาหาร บุคลากรทางการแพทย์
-นักท่องเที่ยวที่เดินทางไปพื้นที่ระบาด
-ผู้ที่มีโรคตับเรื้อรัง เช่น ตับอักเสบบี
-ผู้ใช้ยาเสพติด ผู้ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับผู้ชาย หรือผู้ใกล้ชิดผู้ติดเชื้อ

ข้อควรงด
- ผู้แพ้วัคซีนหรือส่วนประกอบวัคซีน
- ผู้ป่วยที่มีไข้สูงหรือเจ็บป่วยเฉียบพลัน (ควรรอให้หายก่อน)
- ผู้ป่วยเป็นหวัดเล็กน้อยและไม่มีไข้ สามารถรับวัคซีนได้

2. โรคไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B)

ลักษณะโรค: เกิดจากเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ติดต่อผ่านเลือด สารคัดหลั่ง การใช้ของส่วนตัวร่วมกัน หรือจากมารดาสู่ทารก อาการ ได้แก่ มีไข้ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน เจ็บชายโครง ตัวเหลือง ตาเหลือง หากร่างกายไม่สามารถกำจัดเชื้อได้ อาจเป็นพาหะ มีความเสี่ยงตับแข็งและมะเร็งตับ

วัคซีน: ผลิตจากโปรตีนผิวนอกของเชื้อไวรัส ใช้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ 3 ครั้ง ที่ 0, 1, และ 6 เดือน
ผู้ที่ควรได้รับวัคซีน:
- เด็กแรกเกิดและผู้ที่ไม่เคยได้รับวัคซีน
- ผู้เสี่ยงสัมผัสโรค เช่น คู่สมรสของผู้เป็นพาหะ บุคลากรทางการแพทย์ ผู้ใช้ยาเสพติด
- ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่น ตับหรือไตเรื้อรัง
- นักท่องเที่ยวในพื้นที่ระบาด
- ผู้ใหญ่และเด็กโต ควรตรวจเลือดก่อนรับวัคซีนเพื่อดูว่ามีภูมิคุ้มกันตามธรรมชาติหรือไม่

ข้อควรงด:
- ผู้แพ้วัคซีนหรือส่วนประกอบวัคซีน
- ผู้ป่วยที่มีไข้หรือเจ็บป่วยเฉียบพลัน (ควรรอให้หายก่อน)
- ผู้ป่วยเป็นหวัดเล็กน้อยและไม่มีไข้ สามารถรับวัคซีนได้
รายการตรวจ
1. วัคซีนไวรัสตับอักเสบ A จำนวน 1 เข็ม และ วัคซีนไวรัสตับอักเสบ B จำนวน 1 เข็ม
2. ซักประวัติและให้คำแนะนำวัคซีนโดยอายุรแพทย์
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

โรคหัด โรคคางทูม และโรคหัดเยอรมัน เป็นโรคที่ติดต่อได้ง่ายจากการสัมผัสหรือหายใจเอาละอองฝอยของสารคัดหลั่งจากระบบทางเดินหายใจของผู้ป่วยเข้าไป ซึ่งสามารถป้องกันได้โดยการฉีดวัคซีนรวมป้องกันโรคหัด คางทูม หัดเยอรมัน
รายการตรวจ
1. วัคซีนหัด คางทูม หัดเยอรมัน จำนวน 2 เข็ม
2. ซักประวัติและให้คำแนะนำวัคซีนโดยอายุรแพทย์
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

วัคซีนคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก
เป็นวัคซีนพื้นฐานป้องกัน 3 โรค ได้แก่ โรคคอตีบและโรคไอกรน ซึ่งเป็นโรคติดต่อที่พบได้บ่อยในเด็ก ส่วนโรคบาดทะยักก็พบได้ในทุกเพศทุกวัย จากการปนเปื้อนของเชื้อบาดทะยักในสิ่งแวดล้อมและพื้นดิน แต่เรื่องวัคซีนไม่ใช่แค่เรื่องของเด็กๆ เพราะคนทุกช่วงวัยยังจำเป็นต้องได้รับวัคซีนกระตุ้น โรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก 3 โรคนี้
รายการตรวจ
1. วัคซีนคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก จำนวน 1 เข็ม
2. ซักประวัติและให้คำแนะนำวัคซีนโดยอายุรแพทย์
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

โรคปอดบวม หรือปอดอักเสบ เป็นโรคที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนสูง เช่น ติดเชื้อในกระแสเลือด หรือระบบทางเดินหายใจล้มเหลว ซึ่งสามารถป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีน

เหมาะกับใคร?
- ผู้สูงอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป
- ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพเรื้อรัง เช่น โรคไตเรื้อรัง โรคหัวใจเรื้อรัง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ภาวะเลือดจางโดยกำเนิด โรคเบาหวาน โรคพิษสุราเรื้อรัง โรคตับแข็ง เป็นต้น
- ผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง เช่น ผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลือง มะเร็งเม็ดเลือดขาวหรือผู้ที่ได้รับยากดภูมิคุ้มกัน ผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ
- ผู้ที่สูบบุหรี่เป็นประจำหรือเป็นโรคหอบหืดเรื้อรัง

หมายเหตุเพิ่มเติม
สำหรับผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป แพทย์อาจแนะนำให้ฉีดวัคซีนทั้งชนิด PREVNAR 13 และ PNEUMOVAX 23 โดยฉีดวัคซีน PREVNAR 13 ก่อน 1 เข็ม ตามด้วย PNEUMOVAX 23 โดยห่างกัน 6-12 เดือน


รายการตรวจ
1. วัคซีนปอดอักเสบ PREVNAR-13 1 เข็ม
2. ซักประวัติและให้คำแนะนำวัคซีนโดยอายุรแพทย์


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ไข้หวัดใหญ่ เกิดจากไวรัสอินฟลูเอนซา (Influenza virus) ซึ่งจะทำให้มีอาการในระบบทางเดินหายใจแบบเฉียบพลัน โรคนี้มีอัตราเสียชีวิตสูงในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป และหากเป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง อาทิ โรคปอด โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคไต โรคอ้วน ก็จะยิ่งเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดอาการรุนแรงจากอาการแทรกซ้อนไปจนถึงขั้นทำให้เสียชีวิตได้
รายการตรวจ
1. วัคซีนไข้หวัดใหญ่ 4 สายพันธุ์ high dose 1 เข็ม
2. ซักประวัติและให้คำแนะนำวัคซีนโดยอายุรแพทย์


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ใครบ้างที่ควรฉีดวัคซีน RSV
- ผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป
- ผู้ใหญ่ที่มีอายุ 50 – 59 ปี ที่มีโรคประจำตัวและอยู่ในกลุ่มเสี่ยง เช่น เบาหวาน โรคปอด โรคหัวใจ เป็นต้น
- ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันอ่อนแอ เช่น ผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ป่วยมะเร็ง ผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ เป็นต้น
ทำไมต้องฉีดวัคซีน RSV ในผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ
- วัคซีน RSV ช่วยกระตุ้นสร้างภูมิคุ้มกันต่อไวรัส RSV ลดโอกาสการติดเชื้อ
- ลดความเสี่ยงของโรคระบบทางเดินหายใจที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส RSV
- วัคซีน RSV ป้องกันภาวะแทรกซ้อนรุนแรงจากการติดเชื้อไวรัส RSV เช่น ปอดอักเสบหรือปอดบวม หลอดลมอักเสบ เป็นต้น
- ลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากการติดเชื้อไวรัส RSV วัคซีน RSV ควรฉีดเมื่อใด
- วัคซีน RSV ควรฉีดก่อนเข้าสู่การแพร่ระบาดของ RSV ซึ่งมักอยู่ในช่วงฤดูฝน เริ่มต้นตั้งแต่เดือนกรกฎาคม - เดือนพฤศจิกายนของทุกปี โดยฉีดเพียง 1 ครั้ง เข้ากล้ามเนื้อบริเวณต้นแขน


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ไข้เลือดออกเกิดจากการถูกยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคนี้กัด ซึ่งหากยุงได้กัดและดูดเลือดผู้ที่มีเชื้อมาก่อน และไปกัดคนอื่นต่อ ก็จะแพร่เชื้อนี้ไปได้เรื่อยๆ
ยุงลายที่นำโรคมี 2 ชนิด ชนิดแรกคือ ยุงลายบ้าน มีแหล่งเพาะพันธุ์เป็นน้ำนิ่ง น้ำขังในบริเวณบ้าน เช่น แอ่งน้ำ ที่รองขาตู้กับข้าว แจกันดอกไม้ โอ่งที่ไม่ได้ปิดฝา ภาชนะต่างๆ ยางรถยนต์ที่วางทิ้งไว้และมีน้ำขังเมื่อฝนตก ชนิดที่สองคือยุงลายสวน มีแหล่งเพาะพันธุ์ในสวน ตามต้นไม้ แอ่งน้ำ ตอไม้ที่มีน้ำฝนขัง
ในทางระบาดวิทยา พบว่าแหล่งน้ำขังที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายพบมากในบริเวณที่พักอาศัยของคน รวมถึงวัด และโรงเรียน
วัคซีนไข้เลือดออก QDENGA 2 เข็ม


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

โรคงูสวัดเป็นเชื้อไวรัสชนิดเดียวกันกับที่ทำให้เกิดโรคอีสุกอีใส โดยทั่วไปผู้สูงอายุมักเคยเป็นโรคอีสุกอีใสตั้งแต่วัยเด็กแล้ว ถึงแม้หายแล้วเชื้อไวรัสจะยังคงซ่อนเร้นอยู่ในร่างกาย และเมื่ออายุมากขึ้นหรือเมื่อร่างกายอ่อนแอลง ไวรัสชนิดนี้จะทำให้เป็นโรคงูสวัดได้ ผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงของโรคงูสวัด คือทุกคนที่เคยเป็นโรคอีสุกอีใสแต่ความเสี่ยงจะเพิ่มสูงขึ้นในผู้สูงอายุ และผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ อาการแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นบ่อยคือ อาการปวดเจ็บแสบร้อนตามแนวเส้นประสาท ภายหลังการเป็นโรคงูสวัด (postherpetic neuralgia) ผู้ป่วยอาจมีอาการเป็นสัปดาห์หรือหลายเดือน ซึ่งพบบ่อยและรุนแรงขึ้นในผู้ที่มีอายุมากขึ้น ถ้าเป็นบริเวณตาอาจทำให้เกิดการสูญเสียการมองเห็น การฉีดวัคซีนป้องกันงูสวัดเริ่มให้ได้ตั้งแต่อายุ 60 ปีขึ้นไป โดยฉีดเพียงเข็มเดียว และยังไม่มีความจำเป็นต้องฉีดกระตุ้น
รายการตรวจ
1. วัคซีนงูสวัด Shingrix จำนวน 2 เข็ม
2. ซักประวัติและให้คำแนะนำวัคซีนโดยอายุรแพทย์


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ไข้หวัดใหญ่ เกิดจากไวรัสอินฟลูเอนซา (Influenza virus) ซึ่งจะทำให้มีอาการในระบบทางเดินหายใจแบบเฉียบพลัน โรคนี้มีอัตราเสียชีวิตสูงในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป และหากเป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง อาทิ โรคปอด โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคไต โรคอ้วน ก็จะยิ่งเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดอาการรุนแรงจากอาการแทรกซ้อนไปจนถึงขั้นทำให้เสียชีวิตได้
รายการตรวจ
1. วัคซีนไข้หวัดใหญ่ 4 สายพันธุ์ 1 เข็ม
2. ซักประวัติและให้คำแนะนำวัคซีนโดยอายุรแพทย์


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนที่มีอันตรายร้ายแรงที่สุด คนหรือสัตว์ที่มีอาการของโรคจะเสียชีวิตทุกราย พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด ในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมา โรคพิษสุนัขบ้าระบาดในหลายพื้นที่ทั่วประเทศ โดยเฉพาะภาคอีสาน ล่าสุดพบสุนัขและแมวติดเชื้อแล้ว 247 ตัว ซึ่งสูงกว่าปีที่ผ่านมากว่า 1.5 เท่า ประโยชน์จากการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพ ิษสุนัขบ้า
- ประหยัดค่าใช้จ่าย ทำให้ไม่จำเป็นต้องใช้เซรุ่มซึ่งมีราคาแพงและหายาก ในกรณีที่ถูกสัตว์กัดอย่างรุนแรง
- ปลอดภัย เพราะใช้วัคซีนกระตุ้นช่วยให้ผลป้องกันโรคเพียงอย่างเดียว ไม่จำเป็นต้องรับเซรุ่ม ทำให้ไม่เสี่ยงต่ออาการแพ้เซรุ่ม
- เจ็บตัวน้อยกว่า เพราะหากถูกสัตว์กัดจะฉีดวัคซีนกระตุ้นอีก 1-2 เข็ม ซึ่งถ้าไม่เคยฉีดวัคซีนล่วงหน้าแล้ว ส่วนใหญ่ก็ต้องฉีดวัคซีน 5 เข็มและฉีดเซรุ่ม รอบๆ แผลทุกแผล
วัคซีน Verorab เป็นการฉีดเข้าสู่กล้ามเนื้อ จำนวน 2 เข็ม โดยฉีดครั้งละ 1 เข็ม เข็มที่ 2 ฉีดห่างจากเข็มแรก 7 วัน
แพทย์ซักประวัติก่อนรับวัคซีน ข้อแนะนำการรับวัคซีน
- การรับวัคซีนให้ครบตามกำหนด มีความสำคัญต่อประสิทธิภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ดังนั้น หากหากลืมนัดหมายฉีดวัคซีน ควรติดต่อแพทย์เพื่อรับวัคซีนให้ครบตามกำหนด
- หลังฉีดวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้าแล้ว หากโดนสัตว์เลียบริเวณเยื่อบุ บาดแผล หรือกัดข่วน ควรมาพบแพทย์ เพื่อฉีดวัคซีนกระตุ้นทุกครั้ง จำนวน 2 เข็ม โดยเข็มที่ 2 ห่างจากเข็มแรก 3 วัน
- สำหรับผู้ที่ต้องการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคก่อนเดินทางไปในพื้นที่เสี่ยงหรือมีการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้า ควรเข้ารับการฉีดวัคซีนจนครบ ก่อนกำหนดการเดินทางประมาณ 2 สัปดาห์ เพื่อให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันสูงถึงระดับที่สามารถป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้


ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ป้องกันการติดเชื้อนิวโมคอคคัส ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคปอดอักเสบชนิดรุนแรง โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และการติดเชื้อในกระแสเลือด ด้วยการฉีดวัคซีนไอพีดี ซึ่งเป็นวิธีที่สามารถป้องกันการติดเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังสามารถป้องกันการติดเชื้อสายพันธุ์ดื้อยาได้ดี
วัคซีน IPD สามารถเริ่มฉีดได้เมื่อไร
- สามารถเริ่มฉีดได้ตั้งแต่อายุ 2 เดือนขึ้นไป และจำนวนของการได้รับวัคซีนขึ้นอยู่กับ อายุของเด็กที่เริ่มรับวัคซีนเข็มแรก ตามรายละเอียด ดังนี้
- กรณีเริ่มฉีดเมื่ออายุ 2 เดือน ฉีด 4 เข็ม ที่อายุ 2,4,6 และ 15 เดือน ตามลำดับ
- กรณีเริ่มฉีดเมื่ออายุ 7 เดือน ฉีด 3 เข็ม ที่อายุ 7,9 และ 15 เดือน ตามลำดับ
- กรณีเริ่มฉีดเมื่ออายุ 12 เดือน ฉีด 2 เข็ม ที่อายุ 13 และ 15 เดือน ตามลำดับ
- กรณีเริ่มฉีดเมื่ออายุ 2 ปีขึ้นไป ถ้าฉีดชนิด 13 สายพันธุ์ ฉีด 1 เข็ม
- กรณีเริ่มฉีดเมื่ออายุ 2 ปีขึ้นไป ถ้าฉีดชนิด 10 สายพันธุ์ ฉีด 2 เข็ม ห่างกัน 2 เดือน
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้ไม่รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาล

ป้องกันการติดเชื้อนิวโมคอคคัส ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคปอดอักเสบชนิดรุนแรง โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และการติดเชื้อในกระแสเลือด ด้วยการฉีดวัคซีนไอพีดี ซึ่งเป็นวิธีที่สามารถป้องกันการติดเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังสามารถป้องกันการติดเชื้อสายพันธุ์ดื้อยาได้ดี
วัคซีน IPD สามารถเริ่มฉีดได้เมื่อไร
- สามารถเริ่มฉีดได้ตั้งแต่อายุ 2 เดือนขึ้นไป และจำนวนของการได้รับวัคซีนขึ้นอยู่กับ อายุของเด็กที่เริ่มรับวัคซีนเข็มแรก ตามรายละเอียด ดังนี้
- กรณีเริ่มฉีดเมื่ออายุ 2 เดือน ฉีด 4 เข็ม ที่อายุ 2,4,6 และ 15 เดือน ตามลำดับ
- กรณีเริ่มฉีดเมื่ออายุ 7 เดือน ฉีด 3 เข็ม ที่อายุ 7,9 และ 15 เดือน ตามลำดับ
- กรณีเริ่มฉีดเมื่ออายุ 12 เดือน ฉีด 2 เข็ม ที่อายุ 13 และ 15 เดือน ตามลำดับ
- กรณีเริ่มฉีดเมื่ออายุ 2 ปีขึ้นไป ถ้าฉีดชนิด 13 สายพันธุ์ ฉีด 1 เข็ม
- กรณีเริ่มฉีดเมื่ออายุ 2 ปีขึ้นไป ถ้าฉีดชนิด 10 สายพันธุ์ ฉีด 2 เข็ม ห่างกัน 2 เดือน
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้ไม่รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาล

ไข้หวัดใหญ่ เกิดจากไวรัสอินฟลูเอนซา (Influenza virus) ซึ่งจะทำให้มีอาการในระบบทางเดินหายใจแบบเฉียบพลัน โรคนี้มีอัตราเสียชีวิตสูงในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป

และหากเป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง อาทิ โรคปอด โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคไต โรคอ้วนก็จะยิ่งเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดอาการรุนแรงจากอาการแทรกซ้อนไปจนถึงขั้นทำให้เสียชีวิตได้
รายการตรวจ
1.วัคซีนไข้หวัดใหญ่ (สายพันธ์ใหม่)
2.ซักประวัติและให้คำแนะนำวัคซีนโดยอายุรแพทย์
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้ไม่รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาล

การฉีดวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้า สำคัญอย่างไร?
“พิษสุนัขบ้า” เป็นโรคติดเชื้อทางระบบประสาท เกิดขึ้นจากเชื้อไวรัสเรบี่ส์ (Rabies Virus) ซึ่งการติดเชื้อไม่เพียงแค่จากสุนัขสู่คนเท่านั้น แต่สามารถติดต่อจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นสุนัข แมว ลิง ชะนี กระรอก ค้างคาว ฯลฯ โดยเชื้อจะแพร่จากสัตว์สู่คนผ่านการสัมผัสน้ำลายสัตว์ที่การกัด/ข่วนตรงที่มีบาดแผล เลียตรงบริเวณที่เป็นเยื่อบุ เช่น เยื่อบุตา จมูก หรือปาก

เมื่อได้รับเชื้อแล้วจะทำให้มีอาการทางประสาท โดยเฉพาะระบบประสาทส่วนกลาง และเกือบทุกรายเสียชีวิต รวมทั้งปัจจุบันยังไม่มียารักษา ดังนั้น การฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า จึงเป็นวิธีป้องกันที่ดีที่สุด
รายการตรวจ
วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า 2 เข็ม
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้ไม่รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาล

การฉีดวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้า สำคัญอย่างไร?
“พิษสุนัขบ้า” เป็นโรคติดเชื้อทางระบบประสาท เกิดขึ้นจากเชื้อไวรัสเรบี่ส์ (Rabies Virus) ซึ่งการติดเชื้อไม่เพียงแค่จากสุนัขสู่คนเท่านั้น แต่สามารถติดต่อจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นสุนัข แมว ลิง ชะนี กระรอก ค้างคาว ฯลฯ โดยเชื้อจะแพร่จากสัตว์สู่คนผ่านการสัมผัสน้ำลายสัตว์ที่การกัด/ข่วนตรงที่มีบาดแผล เลียตรงบริเวณที่เป็นเยื่อบุ เช่น เยื่อบุตา จมูก หรือปาก

เมื่อได้รับเชื้อแล้วจะทำให้มีอาการทางประสาท โดยเฉพาะระบบประสาทส่วนกลาง และเกือบทุกรายเสียชีวิต รวมทั้งปัจจุบันยังไม่มียารักษา ดังนั้น การฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า จึงเป็นวิธีป้องกันที่ดีที่สุด
รายการตรวจ
วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า 2 เข็ม
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้ไม่รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาล

ไวรัสโรต้าเป็นสาเหตุสำคัญของโรคอุจจาระร่วงที่รุนแรงในเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กเล็กอายุน้อยกว่า 5 ปี ซึ่งในผู้ป่วยเด็กที่เข้านอนโรงพยาบาลกว่าครึ่งหนึ่งป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงที่มีสาเหตุมาจากไวรัสโรต้า โดยไวรัสนี้จะระบาดได้ตลอดทั้งปีและพบมากขึ้นในช่วงอากาศเย็น เช่น ในฤดูหนาว ดังนั้นวิธีการที่ดีที่สุดคือ การเตรียมบุตรหลานให้มีภูมิคุ้มกันด้วยการรับวัคซีนป้องกันไวรัสโรต้าตั้งแต่วัยทารก

- วัคซีนมีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโรต้าที่รุนแรงได้ดี ประมาณร้อยละ 85-98 วัคซีนมีความปลอดภัยสูง พบผลข้างเคียงได้น้อย เช่น ถ่ายอุจจาระเหลว อาเจียน ซึ่งอาการจะไม่รุนแรง แม้ว่าจะมีรายงานการเกิดลำไส้กลืนกันหลังจากหยอดวัคซีน แต่พบได้ในอัตราที่น้อยมากประมาณ 1-5 คนใน 100,000 ราย ซึ่งเป็นโรคที่รักษาได้ เมื่อคำนึงถึงประโยชน์จากวัคซีนในการป้องกันโรคแล้ว ถือว่าสูงกว่าเมื่อเทียบกับผลข้างเคียงที่พบได้น้อยมาก องค์การอนามัยโลกจึงแนะนำว่า เด็กเล็กทุกคนควรได้รับการหยอดวัคซีนนื้ตั้งแต่อายุ 2 เดือน โดยให้พร้อมกับวัคซีนอื่นๆ ตามวัย เด็กที่ได้รับวัคซีนป้องกันไวรัสโรต้าครบแล้ว อาจยังเกิดโรคอุจจาระร่วงจากการติดเชื้อไวรัสโรต้าได้ แต่อาการมักไม่ค่อยรุนแรง
รายการตรวจ
วัคซีนโรต้า RotaRIX (2 Dose)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้ไม่รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาล

ไวรัสโรต้าเป็นสาเหตุสำคัญของโรคอุจจาระร่วงที่รุนแรงในเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กเล็กอายุน้อยกว่า 5 ปี ซึ่งในผู้ป่วยเด็กที่เข้านอนโรงพยาบาลกว่าครึ่งหนึ่งป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงที่มีสาเหตุมาจากไวรัสโรต้า โดยไวรัสนี้จะระบาดได้ตลอดทั้งปีและพบมากขึ้นในช่วงอากาศเย็น เช่น ในฤดูหนาว ดังนั้นวิธีการที่ดีที่สุดคือ การเตรียมบุตรหลานให้มีภูมิคุ้มกันด้วยการรับวัคซีนป้องกันไวรัสโรต้าตั้งแต่วัยทารก

-วัคซีนมีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโรต้าที่รุนแรงได้ดี ประมาณร้อยละ 85-98 วัคซีนมีความปลอดภัยสูง พบผลข้างเคียงได้น้อย เช่น ถ่ายอุจจาระเหลว อาเจียน ซึ่งอาการจะไม่รุนแรง แม้ว่าจะมีรายงานการเกิดลำไส้กลืนกันหลังจากหยอดวัคซีน แต่พบได้ในอัตราที่น้อยมากประมาณ 1-5 คนใน 100,000 ราย ซึ่งเป็นโรคที่รักษาได้ เมื่อคำนึงถึงประโยชน์จากวัคซีนในการป้องกันโรคแล้ว ถือว่าสูงกว่าเมื่อเทียบกับผลข้างเคียงที่พบได้น้อยมาก องค์การอนามัยโลกจึงแนะนำว่า เด็กเล็กทุกคนควรได้รับการหยอดวัคซีนนื้ตั้งแต่อายุ 2 เดือน โดยให้พร้อมกับวัคซีนอื่นๆ ตามวัย เด็กที่ได้รับวัคซีนป้องกันไวรัสโรต้าครบแล้ว อาจยังเกิดโรคอุจจาระร่วงจากการติดเชื้อไวรัสโรต้าได้ แต่อาการมักไม่ค่อยรุนแรง
รายการตรวจ
วัคซีนโรต้า RotaTEQ (3 Dose)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้ไม่รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาล

ไข้เลือดออกเป็นโรคที่มีการระบาดในประเทศไทยเกือบทั้งปี โดยช่วงที่มีการระบาดมากคือฤดูฝนซึ่งยุงลายสามารถขยายพันธุ์ได้ดี ความน่ากลัวของโรคนี้คือ เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตได้ โดยเฉพาะกับเด็กๆ ที่อาจถูกยุงกัดซึ่งเป็นพาหะนำเชื้อไวรัส กัดโดยไม่ได้ป้องกันตัวเองให้ดีพอ… แต่คุณพ่อคุณแม่ไม่ต้องกังวล เพราะปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันโรคไข้เลือดออก
รายการตรวจ
วัคซีนไข้เลือดออก QDENGA 2 เข็ม
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้ไม่รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาล

ตรวจ รักษา หู คอ จมูก

มะเร็งหลังโพรงจมูก (Nasopharyngeal carcinoma: NPC) เป็นการเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติหรือมีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกับเซลล์ ความเปลี่ยนแปลงนี้จะก่อให้เกิดเนื้อร้ายที่สามารถแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นๆ ของร่างกายได้ ซึ่งมะเร็งหลังโพรงจมูกจะเกิดบริเวณหลังโพรงจมูก โดยโพรงจมูกจะมีลักษณะเป็นโพรงกว้าง อยู่ทางด้านหลังของจมูก เป็นทางผ่านของอากาศไปยังผนังคอ ตำแหน่งนี้จะมีสารบางอย่างไหลผ่านเข้าไปได้ง่าย เช่น ควันบุหรี่ ควันพิษต่างๆ หรือสารที่เกิดจากการเผาไหม้และอาจเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ ส่งผลให้เกิดการระคายเคืองบริเวณหลังโพรงจมูกได้ง่าย


มะเร็งหลังโพรงจมูกเกิดจากสาเหตุใด
มะเร็งหลังโพรงจมูก เป็นหนึ่งในมะเร็งบริเวณศีรษะและคอที่พบบ่อยในประเทศไทย ช่วงอายุที่พบบ่อยคือ 30-60 ปี และพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงประมาณ 3 เท่า โดยสาเหตุและปัจจัยความเสี่ยงสำคัญ ได้แก่

1.การติดเชื้อเรื้อรังของไวรัส EBV (Epstein-Barr Virus)
2.ความเสี่ยงทางด้านพันธุกรรม พบมากในบริเวณ South East Asia โดยเฉพาะในประเทศจีนตอนใต้และฮ่องกง
3.พฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น การรับประทานเนื้อสัตว์หมักดองเป็นเวลานาน ปลาเค็ม เนื้อเค็ม แหนม ไส้กรอกอีสาน ซึ่งมีสารก่อมะเร็งที่ชื่อว่า ไนโตรซามีน (Nitrosamines) เป็นสาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งหลังโพรงจมูก โดยหากสูดดมสารนี้เข้าไปสัมผัสกับเยื่อบุหลังโพรงจมูก อาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ DNA ของเซลล์เยื่อบุผิว จนเกิดการกลายพันธุ์ของเซลล์ได้
4.การสัมผัสสารก่อมะเร็งจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม เช่น ฝุ่นไม้หรือขี้เลื่อย ฝุ่นหนัง ฝุ่นจากสิ่งทอ บุหรี่ ไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์สารประกอบนิกเกิล ฟอร์มาดีไฮด์ และโครเมียม เป็นต้น
เงื่อนไขในการเข้ารับบริการ
- ราคาดังกล่าวรวมค่าบริการ แต่ไม่รวมค่ายาและค่ารักษาหลังจากตรวจเจอความผิดปกติ
- ราคาดังกล่าวขอสงวนสิทธิ์สำหรับลูกค้าชาวไทยเท่านั้น
- โปรแกรมนี้ใชสำหรับคลินิกหู คอ จมูกโรงพยาบาลพญาไท 2 เท่านั้น
- โปรแกรมดังกล่าวใช้บริการได้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2567 – 31 กรกฎาคม 2568
หมายเหตุ
1.รวมค่าบริการโรงพยาบาลและค่าแพทย์ทำหัตถการแล้ว
2.ไม่รวมค่ายา
3.ไม่รวมค่ารักษาหลังจากตรวจเจอความผิดปกติ

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ไซนัสเป็นโพรงอากาศโล่งๆ อยู่รอบโพรงจมูกทั้งซ้ายและขวา มีด้วยกัน 4 โพรง บริเวณระหว่างตาทั้งสองข้าง แก้ม หน้าผาก และใต้ฐานกะโหลกศีรษะ เมื่อโพรงไซนัสติดเชื้อและมีการอักเสบเรียกว่า ไซนัสอักเสบ หรือ “เป็นไซนัส”
รายการตรวจ
1. ตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ดิจิตอล paranasal Sinuses
2. ซักประวัติและตรวจโดยแพทย์เฉพาะทางด้านหู คอ จมูก
หมายเหตุ
1.รวมค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว
2.ไม่รวมค่าแพทย์
3.ไม่รวมค่ายา
4.ไม่รวมค่ารักษาหลังจากตรวจเจอความผิดปกติ

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

มะเร็งหลังโพรงจมูก มะเร็งหู คอ จมูก มีโอกาสรอดหากรู้เร็ว
ศูนย์หู คอ จมูก ให้บริการตรวจวินิจฉัย การรักษาและการผ่าตัดโรคที่มีความซับซ้อนโดยทีมแพทย์เฉพาะทางทางด้านหู จมูก ไซนัส ศีรษะ และคอ เช่น ผ่าตัดมะเร็งในช่องปากและผ่าตัดมะเร็งกล่องเสียง การผ่าตัดก้อนเนื้องอกในโพรงจมูก
ที่ต้องอาศัยความชำนาญและแพทย์ที่เข้าใจในการรักษา หากรู้เร็ว รักษาเนิ่นๆ มีโอกาสรอดก่อนลุกลาม
ส่องกล้องตรวจหลังโพรงจมูก คอหอย แก้วหู กล่องเสียง
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

โรคภูมิแพ้ คืออะไร?
โรคภูมิแพ้ คือโรคที่เกิดจากภูมิต้านทานของร่างกายทำงานไวหรือมากเกินไปต่อสารจำพวกหนึ่ง เช่น ไรฝุ่น แมลงสาบ เชื้อรา หรือว่ารังแคของสัตว์ ทำให้มีอาการต่างๆ ในระบบทางเดินหายใจ ภูมิแพ้ผิวหนัง หรือเกิดกับระบบทางเดินอาหาร รวมถึง ‘โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้’ ที่จะกล่าวถึงในครั้งนี้

ปัจจัยเสี่ยงของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ (Allergic Rhinitis)
ปัจจัยเสี่ยงของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่

1.ปัจจัยทางพันธุกรรม ซึ่งพบว่า พ่อแม่ที่เป็นโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ จะทำบุตรเป็นโรคเดียวกันได้มากถึง 50%

2.ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม ซึ่งปัจจุบันลักษณะของชุมชนเติบโตเป็นสังคมเมืองมากขึ้น ทำให้คนส่วนใหญ่สัมผัสกับสิ่งแวดล้อมที่มีมลภาวะมากขึ้น เช่น มีควันจากโรงงาน ท่อไอเสียจากยานพาหนะ หรือแม้แต่การอยู่ใกล้ควันบุหรี่ โดยพบว่าคนที่อยู่ในสังคมเมืองจะเป็นโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ได้มากกว่าคนในชนบท
1. ตรวจส่องกล้องที่จมูก
2. พบแพทย์เฉพาะทางด้านหู คอ จมูก
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

การตรวจหลอดเลือดแดงใหญ่ที่คอด้วยคลื่นความถี่สูง (Carotid Doppler Duplex Ultrasound) จะสามารถเห็นลักษณะของหลอดเลือดรวมถึงการไหลเวียนของเลือดในเส้นเลือดแดงใหญ่ อีกทั้งยังสามารถวัดปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงสมองได้ด้วย
รายการตรวจ
ตรวจหลอดเลือดแดงที่คอ ด้วยคลื่นความถี่สูง (Carotid Doppler Duplex Ultrasound)
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ตรวจรักษาโรคตา

ถึงเวลา “ตัดแว่นใหม่” หรือยัง? เช็กได้จากสัญญาณเหล่านี้
– มองเห็นไม่ชัดเจน หากใส่แว่นสายตาอันเดิมแล้วภาพที่เคยชัด..กลับไม่ชัดเหมือนก่อน อาจเพราะค่าสายตาของคุณเปลี่ยนไป
– เห็นภาพซ้อน ซึ่งมักเกิดจากปัญหา “สายตาเอียง” ควรตรวจวัดสายตาและเปลี่ยนแว่นใหม่โดยเร็ว
– ปวดตา หรือปวดศีรษะ หากใส่แว่นสายตาอันเดิมแล้วไม่สบายตา ปวดศีรษะ และอาการดีขึ้นหลังจากถอดแว่น นั่นเป็นสัญญาณที่ชัดเจนว่า ค่าสายตาของคุณไม่ตรงกันกับเลนส์

แม้จะไม่มีข้อกำหนดแน่ชัดว่าเราควรเปลี่ยนแว่นสายตาทุกกี่ปี แต่การตรวจสุขภาพดวงตา…ควรทำเป็นประจำทุกปี และควรเปลี่ยนแว่นสายใหม่เมื่อมีการมองเห็นเปลี่ยนไปจากเดิม เพราะการพยายามเพ่งสายตาหรือหรี่ตา เพื่อให้มองเห็นภาพชัดเจนขึ้น จะส่งผลให้กล้ามเนื้อตาทำงานหนักเพื่อปรับโฟกัส ซึ่งอาจส่งผลต่อสุขภาพดวงตาในระยะยาวได้
รายการตรวจ
1. ขยายรูม่านตาดูจอประสาทตา (Pupil Dilatation)
และ/หรือ ตรวจจอประสาทตาด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ถ่ายภาพ (Fundus Camera)
2. ตรวจวัดตาทั่วไปแบบละเอียด (Slit Lamp)
3. วัดระดับสายตา และวัดสายตาแบบ3มิติ
4. ตรวจโดยจักษุแพทย์ ตรวจสุขภาพตาทั่วไปและวัดแว่น
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ถึงเวลา “ตัดแว่นใหม่” หรือยัง? เช็กได้จากสัญญาณเหล่านี้
– มองเห็นไม่ชัดเจน หากใส่แว่นสายตาอันเดิมแล้วภาพที่เคยชัด..กลับไม่ชัดเหมือนก่อน อาจเพราะค่าสายตาของคุณเปลี่ยนไป
– เห็นภาพซ้อน ซึ่งมักเกิดจากปัญหา “สายตาเอียง” ควรตรวจวัดสายตาและเปลี่ยนแว่นใหม่โดยเร็ว
– ปวดตา หรือปวดศีรษะ หากใส่แว่นสายตาอันเดิมแล้วไม่สบายตา ปวดศีรษะ และอาการดีขึ้นหลังจากถอดแว่น นั่นเป็นสัญญาณที่ชัดเจนว่า ค่าสายตาของคุณไม่ตรงกันกับเลนส์

แม้จะไม่มีข้อกำหนดแน่ชัดว่าเราควรเปลี่ยนแว่นสายตาทุกกี่ปี แต่การตรวจสุขภาพดวงตา…ควรทำเป็นประจำทุกปี และควรเปลี่ยนแว่นสายใหม่เมื่อมีการมองเห็นเปลี่ยนไปจากเดิม เพราะการพยายามเพ่งสายตาหรือหรี่ตา เพื่อให้มองเห็นภาพชัดเจนขึ้น จะส่งผลให้กล้ามเนื้อตาทำงานหนักเพื่อปรับโฟกัส ซึ่งอาจส่งผลต่อสุขภาพดวงตาในระยะยาวได้
รายการตรวจ
1.ซักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์
2.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
3.ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
4.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
5.ตรวจติดตามควบคุมเบาหวาน
6.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด (ไขมันไม่ดีในเลือด)
7.ตรวจปริมาณไขมันในเลือด
8.ตรวจการทำงานของไต
9.ตรวจการทำงานของตับ
10.ตรวจสุขภาพตาโดยจักจักษุแพทย์
11.ตรวจวัดระดับไมโครอัลบูมินในปัสสาวะ
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ถึงเวลา “ตัดแว่นใหม่” หรือยัง? เช็กได้จากสัญญาณเหล่านี้
– มองเห็นไม่ชัดเจน หากใส่แว่นสายตาอันเดิมแล้วภาพที่เคยชัด..กลับไม่ชัดเหมือนก่อน อาจเพราะค่าสายตาของคุณเปลี่ยนไป
– เห็นภาพซ้อน ซึ่งมักเกิดจากปัญหา “สายตาเอียง” ควรตรวจวัดสายตาและเปลี่ยนแว่นใหม่โดยเร็ว
– ปวดตา หรือปวดศีรษะ หากใส่แว่นสายตาอันเดิมแล้วไม่สบายตา ปวดศีรษะ และอาการดีขึ้นหลังจากถอดแว่น นั่นเป็นสัญญาณที่ชัดเจนว่า ค่าสายตาของคุณไม่ตรงกันกับเลนส์

แม้จะไม่มีข้อกำหนดแน่ชัดว่าเราควรเปลี่ยนแว่นสายตาทุกกี่ปี แต่การตรวจสุขภาพดวงตา…ควรทำเป็นประจำทุกปี และควรเปลี่ยนแว่นสายใหม่เมื่อมีการมองเห็นเปลี่ยนไปจากเดิม เพราะการพยายามเพ่งสายตาหรือหรี่ตา เพื่อให้มองเห็นภาพชัดเจนขึ้น จะส่งผลให้กล้ามเนื้อตาทำงานหนักเพื่อปรับโฟกัส ซึ่งอาจส่งผลต่อสุขภาพดวงตาในระยะยาวได้
รายการตรวจ
1.ขยายรูม่านตาดูจอประสาทตา (Pupil Dilatation)
และ/หรือ ตรวจจอประสาทตาด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ถ่ายภาพ (Fundus Camera)
2.ตรวจวัดตาทั่วไปแบบละเอียด (Slit Lamp)
3.วัดระดับสายตา และวัดสายตาแบบ3มิติ
4.ตรวจโดยจักษุแพทย์ ตรวจสุขภาพตาทั่วไปและวัดแว่น
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ถึงเวลา “ตัดแว่นใหม่” หรือยัง? เช็กได้จากสัญญาณเหล่านี้
– มองเห็นไม่ชัดเจน หากใส่แว่นสายตาอันเดิมแล้วภาพที่เคยชัด..กลับไม่ชัดเหมือนก่อน อาจเพราะค่าสายตาของคุณเปลี่ยนไป
– เห็นภาพซ้อน ซึ่งมักเกิดจากปัญหา “สายตาเอียง” ควรตรวจวัดสายตาและเปลี่ยนแว่นใหม่โดยเร็ว
– ปวดตา หรือปวดศีรษะ หากใส่แว่นสายตาอันเดิมแล้วไม่สบายตา ปวดศีรษะ และอาการดีขึ้นหลังจากถอดแว่น นั่นเป็นสัญญาณที่ชัดเจนว่า ค่าสายตาของคุณไม่ตรงกันกับเลนส์

แม้จะไม่มีข้อกำหนดแน่ชัดว่าเราควรเปลี่ยนแว่นสายตาทุกกี่ปี แต่การตรวจสุขภาพดวงตา…ควรทำเป็นประจำทุกปี และควรเปลี่ยนแว่นสายใหม่เมื่อมีการมองเห็นเปลี่ยนไปจากเดิม เพราะการพยายามเพ่งสายตาหรือหรี่ตา เพื่อให้มองเห็นภาพชัดเจนขึ้น จะส่งผลให้กล้ามเนื้อตาทำงานหนักเพื่อปรับโฟกัส ซึ่งอาจส่งผลต่อสุขภาพดวงตาในระยะยาวได้
รายการตรวจ
1.ขยายรูม่านตาดูจอประสาทตา (Pupil Dilatation) และ/หรือ ตรวจจอประสาทตาด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ถ่ายภาพ (Fundus Camera)
2.วัดความดันลูกตาโดยไม่สัมผัสตา (Tonometer Without Contact),
3.ตรวจวัดตาทั่วไปแบบละเอียด (Slit Lamp)
4.ตรวจความหนาของจุดรับภาพและขั้วประสาทตา (Optical Coherence Tomography: OCT)
5.ตรวจสุขภาพตาแบบละเอียด โดยใช้เครื่องมือคอมพิวเตอร์
6.ตรวจโดยจักษุแพทย์ ตรวจสุขภาพตาทั่วไป ตรวจภาวะต้อหิน และตรวจภาวะต้อกระจก
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ระยะเวลาการขายและระยะเวลาการให้บริการ
ระยะเวลาการขาย : 2 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2568
ระยะเวลาการให้บริการ : 2 มกราคม – 31 ธันวาคม 2568

ฟอกสีฟัน

"Guided Biofilm Therapy"หรือ GBT เป็นการทำความสะอาดฟันควบคู่กับการขูดหินปูนออกจากผิวฟัน โดยมีการเพิ่มขั้นตอนการขจัดคราบ Biofilm หรือคราบจุลินทรีย์ออกจากผิวฟัน ใช้แรงดันน้ำ อากาศ และผงทำความสะอาดในการทำความสะอาดฟัน จึงไม่ทำลายสารเคลือบฟัน ซึ่งเครื่อง GBT Airflow จะช่วยให้การขัดทำคววามสะอาดฟันมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เนื่องจากมีส่วนผสมของผงขัดที่มีความละเอียดสูงถึง 14 ไมครอน จึงทำให้มีประสิทธิภาพในการขจัดคราบที่ติดแน่นบนฟันดีมากกว่าการขูดหินปูนด้วยวิธีทั่วไปเพียงอย่างเดียว โดยเฉพาะการทำความสะอาดคราบของบุหรี่ ชา กาแฟ รวมถึงคราบพลัค คราบหินปูน ได้อย่างสะอาดและทั่วถึง

ข้อดีของ GBT Airflow
1.Deep Cleaning ทำความสะอาดฟันได้อย่างล้ำลึก
2.ขจัดคราบเหลือง คราบดำ ที่ฟันได้สะอาดหมดจด
3.ผงขัดพิเศษ 14 ไมครอน สามารถเข้าถึงซอกฟัน ร่องฟันได้เป็นอย่างดี
4.ป้องกันฟันผุและป้องกันโรคเหงือก
5.ใช้คู่กับทันตกรรมความงามเพื่อเสริมให้ดีขึ้นได้ เช่น การฟอกสีฟัน : การทำความสะอาดฟันด้วย GBT Airflow ก่อนการฟอกสีฟัน จะเป็นการเตรียมผิวฟัน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ในการฟอกสีฟันที่ดียิ่งขึ้น
6.ขูดหินปูนด้วย No pain technology ปรับระดับความแรงของเครื่องอัตโนมัติ ตามความหนาของคราบหินปูน"
รายการตรวจ
1. ตรวจสุขภาพฟันโดยทันตแพทย์
2. ขูดหินปูน
3. ขัดฟันทำความสะอาดฟันด้วยเครื่อง Airflow
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

รายการตรวจ
1. ตรวจสุขภาพฟันโดยทันตแพทย์
2. ขูดหินปูน
3. ขัดฟันทำความสะอาดฟันด้วยเครื่อง Airflow
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

รายการตรวจ
1. ตรวจสุขภาพฟันโดยทันตแพทย์
2. ขูดหินปูน
3. ขัดฟันทำความสะอาดฟันด้วยเครื่อง Airflow
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

รายการตรวจ
1. ตรวจสุขภาพฟันโดยทันตแพทย์
2. ขูดหินปูน
3. ขัดฟันทำความสะอาดฟันด้วยเครื่อง Airflow
หมายเหตุ
โปรแกรมนี้รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

ตรววจ DNA และลักษณะทางพันธุกรรม

การตรวจ Premium DNA Test คืออะไร
- เป็นการตรวจลึกระดับยีนที่ช่วยให้การวางแผนดูแลสุขภาพตลอดชีวิต โดยการใช้ไม้สำลีขูดเบาๆ ที่กระพุ้งแก้ม เพื่อนำเนื้อเยื่อบุกระพุ้งแก้มไปตรวจ ช่วยในการวางแผนควบคุมน้ำหนัก ลดภาวะความเครียด ช่วยให้การนอนหลับดีขึ้น ป้องกันโอกาสเกิดโรคเรื้อรังได้ กว่า 90%

- Premium DNA Test มีประโยชน์สำหรับการลดน้ำหนักยังไง
เพราะอาหารบางอย่างสามารถส่งผลดีหรือผลเสียต่อร่างกายได้ ทำให้เกิดโรคอ้วนและโรคต่างๆ การตรวจประเมินความแตกต่างทางพันธุกรรมนี้ จึงนำไปสู่การวางแผนในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมในแต่ละบุคคล เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อร่างกาย (Diet plan)
1.ซักประวัติและตรวจร่างกายทั่วไปโดยแพทย์Physical Examination
2.ให้คำปรึกษาด้านการอาหารและโภชนา 30 นาทีConsultations Dietcian 30 min
3.การปรับสมรรถภาพทางกาย Physical performance adjustment
4.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Glucose (Fasting)
5.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
6.ตรวจการทำงานของไต BUN
7.ตรวจปริมาณไขมันคอเลสเตอรอล Cholesterol
8.ตรวจปริมาณไขมันไตรกลีเซอไรด์ Triglyceride
9.ตรวจปริมาณไขมันดี HDL- Cholesterol
10.ตรวจปริมาณไขมันไม่ดี LDL - Cholestero
11.ตรวจเพื่อดูการทำงานของตับ SGOT (AST)
12.ตรวจเพื่อดูการทำงานของตับ SGPT (ALT)
13.ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย CRP high sense
14.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
15.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ FT3
16.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ FT4
17.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ TSH
18.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ E2
19.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Testosterone
20.ตรวจฮอร์โมนความเครียด Cortisol
21.ตรวจระดับน้ำตาลในตับอ่อน insu.lin
22.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน GF1
23.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน DHEAS
24.ตรวจระดับกรดโฟลิก Folic Acid
25.ตรวจระดับวิตามินบี 12 Vitamin B12
26.ตรวจระดับวิตามินดี Vitamin D
27.ตรวจไขมันสะสมทั่วร่างกาย Dexa Scan
28.ตรวจการเผาผลาญ metabolism การเผาผลาญสารต่างๆที่นำไปสร้างพลังงานของเซลล์ สมดุลสารสื่อประสาท สมดุลจุลินทรีย์ในระบบทางเดินอาหาร ความเสื่อมของเซลล์ที่เกิดจากอนุมูลอิสระ Organic Profile
29.การตรวจยีน (DNA) ที่มีรายงานผลการตรวจมากกกว่า 500 รายการ 20 ประเภท อาทิ (การลดน้ำหนัก ,การออกกำลังกาย ,โรคทางพันธุกรรม , ความเสี่ยงในการใช้ยา , ผิว และอื่นๆ) Premium DNA Test 500 + Personalize report over 20 categories



การตรวจ Premium DNA Test คืออะไร
- เป็นการตรวจลึกระดับยีนที่ช่วยให้การวางแผนดูแลสุขภาพตลอดชีวิต โดยการใช้ไม้สำลีขูดเบาๆ ที่กระพุ้งแก้ม เพื่อนำเนื้อเยื่อบุกระพุ้งแก้มไปตรวจ ช่วยในการวางแผนควบคุมน้ำหนัก ลดภาวะความเครียด ช่วยให้การนอนหลับดีขึ้น ป้องกันโอกาสเกิดโรคเรื้อรังได้ กว่า 90%

- Premium DNA Test มีประโยชน์สำหรับการลดน้ำหนักยังไง
เพราะอาหารบางอย่างสามารถส่งผลดีหรือผลเสียต่อร่างกายได้ ทำให้เกิดโรคอ้วนและโรคต่างๆ การตรวจประเมินความแตกต่างทางพันธุกรรมนี้ จึงนำไปสู่การวางแผนในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมในแต่ละบุคคล เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อร่างกาย (Diet plan)
1.ซักประวัติและตรวจร่างกายทั่วไปโดยแพทย์Physical Examination
2.ให้คำปรึกษาด้านการอาหารและโภชนา 30 นาทีConsultations Dietcian 30 min
3.การปรับสมรรถภาพทางกาย Physical performance adjustment
4.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด Glucose (Fasting)
5.ตรวจการทำงานของไต Creatinine
6.ตรวจการทำงานของไต BUN
7.ตรวจปริมาณไขมันคอเลสเตอรอล Cholesterol
8.ตรวจปริมาณไขมันไตรกลีเซอไรด์ Triglyceride
9.ตรวจปริมาณไขมันดี HDL- Cholesterol
10.ตรวจปริมาณไขมันไม่ดี LDL - Cholestero
11.ตรวจเพื่อดูการทำงานของตับ SGOT (AST)
12.ตรวจเพื่อดูการทำงานของตับ SGPT (ALT)
13.ตรวจหาภาวะการอักเสบของร่างกาย CRP high sense
14.ตรวจความสมบูรณ์เม็ดเลือดและเกล็ดเลือด CBC
15.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ FT3
16.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ FT4
17.ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ TSH
18.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ E2
19.ตรวจระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับเพศ Testosterone
20.ตรวจฮอร์โมนความเครียด Cortisol
21.ตรวจระดับน้ำตาลในตับอ่อน insu.lin
22.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน GF1
23.ตรวจระดับโกรทฮอร์โมน DHEAS
24.ตรวจระดับกรดโฟลิก Folic Acid
25.ตรวจระดับวิตามินบี 12 Vitamin B12
26.ตรวจระดับวิตามินดี Vitamin D
27.ตรวจไขมันสะสมทั่วร่างกาย Dexa Scan
28.ตรวจการเผาผลาญ metabolism การเผาผลาญสารต่างๆที่นำไปสร้างพลังงานของเซลล์ สมดุลสารสื่อประสาท สมดุลจุลินทรีย์ในระบบทางเดินอาหาร ความเสื่อมของเซลล์ที่เกิดจากอนุมูลอิสระ Organic Profile
29.การตรวจยีน (DNA) ที่มีรายงานผลการตรวจมากกกว่า 500 รายการ 20 ประเภท อาทิ (การลดน้ำหนัก ,การออกกำลังกาย ,โรคทางพันธุกรรม , ความเสี่ยงในการใช้ยา , ผิว และอื่นๆ) Premium DNA Test 500 + Personalize report over 20 categories



การจัดอันดับสถานที่

4.8


บรรยากาศ
ความสะอาด
พนักงาน
คุ้มค่า
How to get there

โรงพยาบาลพญาไท 2
943 Phaholyothin Rd., Phyathai, Phyathai, Bangkok 10400

Mon 01:00 AM - 12:00 AM

Tue 01:00 AM - 12:00 AM

Wed 01:00 AM - 12:00 AM

Thu 01:00 AM - 12:00 AM

Fri 01:00 AM - 12:00 AM

Sat 01:00 AM - 12:00 AM

Sun 01:00 AM - 12:00 AM

รีวิว (เขียนโดยลูกค้าหลักจากที่มาเยือน)
user icon

Vladimir

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 18 ชั่วโมงที่แล้ว

user icon

Sariya

บริการดี แต่ควรระบุเงื่อนไขและข้อจำกัดของ voucher ให้ชัดเจน

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 23 วันที่ผ่านมา

user icon

Natthacha

Great service and excellent quality

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 106 วันที่ผ่านมา

user icon

Chotirot

พนักงานให้บริการดีมาก ทุกอย่างรวดเร็วดีมาก

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 109 วันที่ผ่านมา

user icon

Mindy

ปกติรักษาตัวที่โรงพยาบาลนี้อยู่แล้ว เรื่องการบริการที่นี่เพอร์เฟคอยู่แล้วไม่ต้องเป็นห่วงเลยค่ะ เท่าที่เห็นมาวันนี้ ถ้าไปจ่ายตรงกับทางโรงพยาบาลและใช้เอไอเอสจะอยู่ที่ 690 บาทค่ะ แต่เรามีโค้ดและมีเครดิตเงินคืนก็เลยจองจาก GoWabi ในราคา 630 บาท ☺️✨✨✨✨✨✨

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 234 วันที่ผ่านมา

user icon

Ploy

โดยรวมดีค่ะคุณหมอทำละเอียดมากสถานที่ดีแต่อาจจะต้องรอคิวนานหน่อยเพราะคนเยอะเยอะค่ะ

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 300 วันที่ผ่านมา

user icon

Rinlaya

ดีมากหมอให้คำแนะนำดีตรวจดีด้วยบอกสาเหตุต่างๆชัดเจน ดีเลย

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 345 วันที่ผ่านมา

user icon

Pukwadee

ดีมาก ราคาคุ้มค่า ทุกคนเป็นกันเองและให้บริการอย่างดี คุณหมอตอบข้อสงสัยและอธิบายรายละเอียดได้ครบถ้วน

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 349 วันที่ผ่านมา

user icon

Pukwadee

ดีมาก ราคาคุ้มค่า ทุกคนเป็นกันเองและให้บริการอย่างดี คุณหมอตอบข้อสงสัยและอธิบายรายละเอียดได้ครบถ้วน

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 350 วันที่ผ่านมา

user icon

Hathairat

เจ้าหน้าที่รวมคุณหมอและพยาบาลให้การตรวจรักษาและดูแลดีมากๆ แจ้งขั้นตอนการให้บริการชัดเจน มีความยิ้มแย้มเป็นมิตรตลอด ยิ่งซื้อดีลจากแอปนี้ยิ่งได้ส่วนลดจากราคาปกติด้วย

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 389 วันที่ผ่านมา

ร้านค้าแนะนำ

Frequently Asked Questions

โรงพยาบาลพญาไท 2 ตั้งอยู่ที่ไหน?

โรงพยาบาลพญาไท 2 ตั้งอยู่ที่ 943 Phaholyothin Rd., Phyathai, Phyathai, Bangkok 10400

เวลาเปิดทำการของ โรงพยาบาลพญาไท 2 ?

โรงพยาบาลพญาไท 2 เวลาทำการ

จันทร์ - -

อังคาร - -

พุธ - -

พฤหัสบดี - -

ศุกร์ - -

เสาร์ - -

อาทิตย์ - -

เวาเชอร์หมดอายุเมื่อใดหลังจากซื้อ?

โดยทั่วไป บัตรกำนัลมีอายุการใช้งาน 60 วันหลังจากการซื้อ อย่างไรก็ตาม บริการบางอย่างอาจมีระยะเวลาหมดอายุที่แตกต่างกัน อาจสั้นกว่าหรือยาวกว่า โปรดตรวจสอบเงื่อนไขวันหมดอายุหรือระยะเวลาการใช้งานสำหรับแต่ละบริการในส่วนรายละเอียดของบริการอย่างละเอียด

ฉันจะนัดหมายหรือเปลี่ยนวันที่นัดหมายได้อย่างไร?

คุณสามารถทำการนัดหมายหรือเปลี่ยนแปลงวันนัดกับทางร้านโดยตรงล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วันก่อนวันที่ต้องการเข้ารับบริการ ข้อมูลติดต่อของร้านค้าจะมีอยู่ในรายละเอียดการจองของคุณหลังจากที่คุณทำการจองเรียบร้อยแล้ว

ฉันสามารถยกเลิกการจองหรือคำสั่งซื้อนี้ได้หรือไม่?

โดยทั่วไป การยกเลิกและการคืนเงินสามารถทำได้ภายใน 7 วันหลังจากการซื้อ และการคืนเงินจะเป็นแบบคืนเงินเข้าเครดิตเงินคืน (Cashback) ในบัญชีของคุณ อย่างไรก็ตาม บริการบางอย่างอาจมีเงื่อนไขที่แตกต่างกัน โปรดตรวจสอบนโยบายการยกเลิกและการคืนเงินสำหรับแต่ละบริการที่คุณต้องการซื้ออย่างละเอียด

ฉันควรทำอย่างไรหากฉันมาสาย?

คุณควรมาถึงก่อนเวลานัดอย่างน้อย 15 นาที หากคุณมาสาย อาจทำให้การเข้ารับบริการของคุณล่าช้าได้ หากมาสายเกินกว่า 15 นาที อาจทำให้การนัดหมายถูกยกเลิกได้

ในกรณีที่คุณมาสาย โปรดติดต่อร้านโดยตรงเพื่อแจ้งให้ทราบเกี่ยวกับความล่าช้าของคุณ คุณสามารถค้นหาข้อมูลติดต่อของร้านได้ในรายละเอียดการจองหลังจากทำการซื้อเสร็จเรียบร้อยแล้ว

ทางเลือกการชำระเงินของ โรงพยาบาลพญาไท 2 มีกี่รูปแบบ?

เรามีตัวเลือกการชำระเงินหลากหลายเพื่อความสะดวกของคุณ สำหรับการชำระเงินออนไลน์ คุณสามารถชำระเงินด้วยบัตรเครดิต (Visa, MasterCard, American Express), บัตรเดบิต, TrueMoney Wallet, ShopeePay, Rabbit LINE Pay, Alipay, Google Pay, Internet Banking และ PromptPay โปรดทราบว่า ร้านนี้ไม่รับชำระเป็นเงินสด

ฉันสามารถชำระเงินแบบผ่อนชำระได้หรือไม่?

แผนการผ่อนชำระสำหรับบริการที่มีมูลค่า 3,000 บาทขึ้นไป มองหาข้อความ "0% ผ่อนได้" บนบริการที่มีสิทธิ์ แผนการผ่อนชำระมีระยะเวลาสูงสุด 6 เดือนโดยไม่มีดอกเบี้ย

ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ (2019) GoWabi ยังคงดำเนินการเก็บรวบรวมและใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของท่านตามวัตถุประสงค์เดิม ดูเพิ่ม
cartcheck ใส่ตะกร้าแล้ว!