คุณช้าไปแล้ว บริการนี้ขายหมดแล้วค่ะ

Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)

22/22 Ratchada-Ramintra Road Ramintra, Khan Na Yao, Bangkok 10230

Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  1 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  1
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  13 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  13
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  11 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  11
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  9 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  9
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  8 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  8
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  7 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  7
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  6 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  6
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  10 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  10
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  12 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  12
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  14 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  14
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  15 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  15
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  17 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  17
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  16 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  16
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  4 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  4
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  5 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  5
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  2 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  2
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  3 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  3

ไปถึงได้วัดความดัน เจาะเลือด รอสักพักไปตรวจ bi

- Kanyapak

บรรยากาศดีมากค่ะ เจ้าหน้าที่บริการดี คุณหมอแนะ

- Nungning

เจ้าหน้าที่บริการดีมาก จอดรถสะดวก

- Ari

บางกอก เวลเนส เมดิคัล คลินิก (BWM) เป็นสถานพยาบาลตรวจสุขภาพ ดูแลและฟื้นฟูสุขภาพครบวงจร ที่มีการนำวิทยาการทางการแพทย์ที่เน้นการรักษาแบบองค์รวม (Holistic Medicine) ซึ่งเป็นการรักษาที่มุ่งเน้นไปถึงการหาสาเหตุของความเจ็บป่วยมากกว่าที่จะเป็นเพียงการรักษาตามอาการ ยังช่วยฟื้นฟูร่างกายทุกระบบไปพร้อมๆ กันจนถึงระดับเซลล์ในร่างกาย ซึ่งการฟื้นฟูแนวป้องกัน Anti-Aging กำลังเป็นที่นิยม และเป็นเทรนด์สุขภาพในปัจจุบันของโลก ภายใต้การบริการ การดูแลลูกค้าแบบมาตรฐานระดับสากล โดยมีการคิดค้นพัฒนาทั้งองค์ความรู้ วิทยาการทางการแพทย์ และมาตรฐานการรักษาอย่างต่อเนื่อง พร้อมมีทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ทีมบุคลากรมืออาชีพที่มีประสบการณ์และความชำนาญดูแลอย่างใกล้ชิด บางกอก เวลเนส เมดิคัล คลินิก Bangkok Wellness Medical Center (BWM) นำโดย เป็นสถานพยาบาลตรวจสุขภาพ ดูแลและฟื้นฟูสุขภาพครบวงจร ที่มีการนำวิทยาการทางการแพทย์ที่เน้นการรักษาแบบองค์รวม (Holistic Medicine) ซึ่งเป็นการรักษาที่มุ่งเน้นไปถึงการหาสาเหตุของความเจ็บป่วยมากกว่าที่จะเป็นเพียงการรักษาตามอาการ ยังช่วยฟื้นฟูร่างกายทุกระบบไปพร้อมๆ กันจนถึงระดับเซลล์ในร่างกาย ซึ่งการฟื้นฟูแนวป้องกัน Anti-Aging กำลังเป็นที่นิยม และเป็นเทรนด์สุขภาพในปัจจุบันของโลก ภายใต้การบริการ การดูแลลูกค้าแบบมาตรฐานระดับสากล โดยมีการคิดค้นพัฒนาทั้งองค์ความรู้ วิทยาการทางการแพทย์ และมาตรฐานการรักษาอย่างต่อเนื่อง พร้อมมีทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ทีมบุคลากรมืออาชีพที่มีประสบการณ์และความชำนาญดูแลอย่างใกล้ชิด พร้อมมุ่งหวังจะเป็นศูนย์ฟื้นฟูสุขภาพทางเลือกใหม่สำหรับที่สนใจและใส่ใจในการดูแลสุขภาพอย่างยั่งยืน

 

รายละเอียด:

• ดีลนี้เมื่อซื้อแล้ว จะมีอายุการใช้งาน 2 เดือน นับจากวันที่ซื้อ

• ทุกคูปองและบริการ ไม่สามารถแลกเปลี่ยนเป็นเงินสดได้

• ไม่สามารถใช้ร่วมกับรายการ Promotions ส่งเสริมการขายอื่นได้

• กรุณาแสดงคูปองจากทางอีเมลหรือ GoWabi แอพพลิเคชั่นให้กับพนักงานก่อนเข้าใช้บริการ

• กรุณาจองคิวล่วงหน้า สามารถดูรายละเอียดการติดต่อเพื่อทำการจองนัดหมายได้ที่ “อีเมลยืนยันการจอง Gowabi หรือ บุ๊คกิ้งของฉัน”

เพิ่มเติม
9.9 Hot Deals

บริการโดดเด่น

แพ็คเกจเสริมความงาม

"มีรายการตรวจดังนี้: 

1. ข้าวบาร์เลย์

2. แป้งไกลอะดิน

3. ข้าวโอ๊ต

4. แป้งไรย์

5. แป้งสเปลท์

6. ข้าวสาลี

7. แป้งบักวีท

8. เมล็ดแฟลกซ์

9. ข้าวโพด

10. ข้าวฟ่าง (ข้าวเดือย)

11. ข้าวเจ้า

12. เนื้อวัว

13. เนื้อไก่

14. เนื้อแกะ

15. เนื้อหมู

16. ไก่งวง

17. นมวัว

18. ไข่แดง

19. ไข่ขาว

20. ชีสแพะ

21. นมแพะ

22. นมแกะ

23. ชีสแกะ

24. โยเกิร์ต

25. มะเขือม่วง

26. หัวบีทรูท

27. พริกหยวก

28. บรอกโคลี

29. แครอท

30. ผักขึ้นฉ่าย

31. พริก

32. แตงกวา

33. ฮอสแรดิช (วาซาบิเทียม)

34. ต้นหอมญี่ปุ่น

35. มะกอก

36. หัวหอม

37. มันฝรั่ง

38. กะหล่ำปลีแดง

39. มะเขือเทศ

40. หัวผักกาด

41. บวบ

42. อาร์ติโชก

43. หน่อไม้ฝรั่ง

44. ผักโขม

45. ถั่วแขก

46. ถั่ว

47. ถั่วเหลือง

48. ถั่วเลนทิล (เมล็ดกลมแบนขนาดเล็ก)

49. ถั่วขาว

50. ผักกาดหอม

51. คอร์นสลัด

52. แอปเปิล

53. ผลแอปปริคอต

54. กล้วย

55. เชอร์รี่

56. องุ่น

57. กีวี่

58. มะนาว

59. ลูกท้อ

60. ส้ม

61. สับปะรด

62. สตรอเบอร์รี่

63. แตงโม

64. ลูกแพร์

65. ลูกพลัม

66. ส้มชนิดหนึ่งตระกูลส้มโอ

67. ลูกพีช

68. ผลอินทผลัม

69. ใบโหระพา

70. พริกไทยดำ/ขาว

71. อบเชย

72. กระเทียม

73. เมล็ดมัสตาร์ด

74. ลูกจันทน์เทศ

75. ออริกาโน

76. พาร์สเลย์ และผักชี

77. ใบสะระแหน่

78. เมล็ดป๊อปปี้

79. โรสแมรี่

80. ไธม์

81. วานิลลา

82. ถั่วอัลมอนด์

83. มะม่วงหิมพานต์

84. เมล็ดโกโก้

85. ถั่วเฮเซล

86. ถั่วลิสง

87. ถั่วพิสตาชิโอ

88. งา

89. เมล็ดทานตะวัน

90. ถั่ววอลนัต

91. มะพร้าว และเนื้อมะพร้าว

92. เห็ดผสม เห็ดนางรม เห็ดฟาง เห็ดหอม และเห็ดชองเทอเรลล์

93. เห็ดผสม (Bay Boletus, Boletus)

94. กุ้ง

95. ปลาแซลมอน

96. ปลาทูน่า

97. หอยกาบ

98. กุ้ง

99. ปลาแอนโชวี่

100. ปลาฉนาก

101. ปลาเทราต์

102. ปลาตาเดียว และปลาลิ้นหมา

103. ปลาค็อด

104. ยีสต์สำหรับหมักเครื่องดื่ม

105. ยีสต์สำหรับทำขนมปัง

106. น้ำผึ้ง

107. กาแฟ

108. ชาดำ

109. เมล็ดแครอบ (คล้ายโกโก้ใช้ทำขนม แทนช็อคโกแลต)

110. น้ำมันจากดอกเรปซีด

111. เนื้อเป็ด

112. เนื้อแพะ

113. เนื้อห่าน

114. เนื้อนกกระจอกเทศ

115. เนื้อนกกระทา

116. เนื้อกระต่าย

117. เนื้อกวางตัวเมีย

118. ไก่ต๊อก

119. เนื้อม้า

120. นมหมักมีรสเปรี้ยว

121. เบต้าแลคโตกลอบูลิน (พบในนมวัว)

122. เนย

123. เนยแข็งคาเมมเบิร์ต

124. เคซีน โปรตีนในนมวัว

125. ชีสชนิดเอมเมนทอล

126. ชีสชนิดคอตเตจ

127. ชีสชนิดมอสซาเรลล่า

128. ชีสแปรรูป

129. ชีสนมเปรี้ยว

130. หน่อไม้

131. พืชตระกูลกะหล่ำปลี

132. กะหล่ำดอก

133. ผักชาร์ด

134. ผักกาดขาว

135. เฟนเนล

136. พืชตระกูลบวบ

137. ทานตะวัน และแห้วบัวตอง

138. ผักเคล

139. หัวไชเท้า

140. กะหล่ำปลีใบย่น

141. มันเทศ

142. ใบองุ่น

143. กะหล่ำปลีขาว

144. หอมแดง

145. ชะเอม

146. ถั่วลันเตา

147. ถั่วปากอ้า

148. ถั่วชิคพี

149. ถั่วเขียว (ที่นำมาเพาะถั่วงอก)

150. ถั่วแดง

151. ผักชิโคลี

152. ผักกาดแก้ว

153. ผักรอกเก็ต (ใช้ทำสลัด)

154. อะโวคาโด

155. แบล็กเบอร์รี่

156. บลูเบอร์รี่

157. แครนเบอร์รี่

158. เรดเคอร์แรนต์

159. แบล็กเคอร์เรนต์

160. มะเดือฝรั่ง

161. กูสเบอร์รี่

162. เมล่อนฮันนี่ดิว

163. มะนาว

164. ลิ้นจี่

165. มะม่วง

166. มะละกอ

167. ทับทิม

168. ราสเบอร์รี่

169. โรสฮิพ ผลกุหลาบป่า

170. แคนตาลูป

171. ลูกเกด

172. เมล็ดผักชี

173. ใบกระวาน

174. ดอกคาโมมายด์ และเก๊กฮวย

175. เมล็ดเคเปอร์

176. ใบกุยช่าย และต้นกุยช่าย

177. กานพลู

178. ใบผักชี

179. ยี่หร่า

180. ผักชีลาว

181. ขิง

182. มาเจอรัม

183. หญ้าฝรั่น

184. ผกากรอง (เสจ)

185. พริกป่น

186. เครื่องแกง

187. ใบทารากอน

188. ใบฮอพส์

189. สะระแหน่ ใบมินต์

190. ถั่วบราซิล

191. ถั่วแมคคาเดเมีย

192. ลูกสน

193. เกาลัด

194. ถั่วโคล่า

195. ปลาคาร์พ

196. ปลาหมึกกล้วย

197. ปลาไหล

198. ปลาทรายแดง

199. ปลาแฮดดัก

200. ปลาไพด์

201. ปลาเทเบิล

202. ปลาแฮริ่ง

203. กุ้งล็อบสเตอร์

204. ปลาแมกเคอเรล

205. ปลาหมึกสาย

206. หอยนางรม

207. ปลาซาร์ดีน

208. ปลากะพงแดง

209. ปลากะพง

210. ไข่ปลาคาเวียร์

211. ปู

212. วุ้น ผงวุ้น

213. ว่านหางจระเข้

214. ชาเขียว

215. ผงฟู

216. น้ำมันดอกคำฝอย

 

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ:

• ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่ควรอดนอน

• ไม่ต้องงดน้ำ งดอาหารก่อนตรวจ

• ควรสวมเสื้อที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน

 

ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ: 

• การตรวจภูมิแพ้อาหารแฝงไม่ได้เป็นการวินิจฉัยโรค เป็นเพียงทางเลือกหนึ่งในการดูแลสุขภาพ ช่วยให้เลือกหรือปรับการรับประทานอาหารได้อย่างเหมาะสม

 

ภูมิแพ้แบบแฝง (Food Intolerance)

เป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถย่อยอาหารบางชนิดได้ตามปกติ แต่จะไม่แสดงอาการทันที จึงไม่สามารถระบุชนิดอาหารที่แพ้ได้ ต่างจากการแพ้ปกติที่แสดงอาการให้เห็นในเวลาอันสั้น แม้การแสดงออกของการแพ้อาหารแบบแฝงจะไม่รุนแรง แต่ก็ทำให้เกิดอาการเรื้อรังอื่นๆ ได้ จึงควรรีบตรวจหาต้นตอเพื่อการรักษาและดูแลอาการอย่างถูกต้องต่อไป

 

สาเหตุ: 

การแพ้อาหารแฝง เกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่มี 2 สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ

• ร่างกายขาดเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการย่อยอาหารนั้นๆ ทำให้ไม่สามารถย่อยและดูดซึมไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

• ร่างกายไวต่อสารบางชนิดในอาหาร เช่น สารปรุงแต่ง หรือสารที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติในอาหาร อาการจะมีมากขึ้นเมื่อรับประทานอาหารชนิดนั้นมากเกินไป

 

อาการที่พบบ่อย:

• ท้องอืด

• ท้องผูก

• ปวดท้อง

• ท้องเสีย

• ปวดศีรษะ

• ไอ

• น้ำมูกไหล

• ครั่นเนื้อครั่นตัว

• อ่อนเพลีย

• มีผื่นคัน

• ลมพิษ

แม้อาการเหล่านี้อาจเป็นได้ทั้งจากภูมิแพ้อาหารแฝงและปัญหาสุขภาพอื่น ๆ แต่หากมีอาการบ่อย ๆ หรือรุนแรง ควรพบแพทย์เพื่อรักษา

 

วิธีตรวจอาการแพ้อาหารแฝงด้วยตัวเอง:

• จดบันทึกรายการอาหารที่รับประทานและอาการที่เกิดขึ้นหลังจากนั้น

• งดรับประทานอาหารที่สงสัยว่า อาจเป็นสาเหตุทีละชนิด ราว 2-6 สัปดาห์

• กลับไปรับประทานอาหารชนิดนั้นอีกครั้ง หากกลับมามีอาการ ก็เป็นไปได้ว่าสาเหตุมาจากอาหารชนิดนั้น

นอกจากนี้ยังสามารถเข้ารับการตรวจเลือดหาภูมิคุ้มกันในเลือดที่จำเพาะต่ออาหารแต่ละชนิด (Food specific IgG) เพื่อช่วยระบุชนิดอาหารที่มีความเป็นไปได้ที่จะทำให้เกิดภาวะภูมิแพ้อาหารแฝงได้

 

หมายเหตุ:

• หลังจากได้รับผลการทดสอบแล้วนั้น สามารถนำผลที่ได้มาปรับใช้เลือกกินอาหารที่เหมาะสม เพื่อลดอาหารที่ส่งเสริมอาการแพ้

• ไม่ใช่โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี จึงไม่จำเป็นต้องตรวจทุกปี"

 

"Food Allergy (lgG) 

โปรแกรมตรวจภูมิเฉียบพลัน 36 รายการ

 

มีรายการตรวจดังนี้: 

Environment 14 Allergens:

• หญ้า 3 Allergens

• สัตว์เลี้ยง 3 Allergens

• ไรฝุ่น 2 Allergens

• แมลงสาบ 2 Allergens

• เชื้อรา 3 Allergens

• ยาง 1 Allergen

 

 

Food 22 Allergens: 

• ไข่ และโปรตีนในไข่ขาว 4 Allergens

• นมวัว และโปรตีน ในนมวัว 4 Allergens

• อาหารทะเล 7 Allergens

• แป้งสาลี และโปรตีน ในแป้งสาลี 2 Allergens

• ถั่วลิสง และโปรตีน ในถั่วลิสง 3 Allergens

• ถั่วเหลือง 1 Allergen

• มะพร้าว 1 Allergen

 

รายละเอียดการตรวจ:

• ระยะเวลาเจาะเลือดประมาณ 5-10 นาที

• ระยะเวลารอผลการตรวจประมาณ 7-10 วัน

• แพทย์จะนัดเข้าพบอีกครั้งหลังจากผลตรวจออกซึ่งใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง

 

การเตรียมตัวก่อนใช้บริการ:

• ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ

• ควรสวมเสื้อที่ถอดง่าย สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน

• หากมีผลตรวจสุขภาพครั้งล่าสุดให้นำมาด้วย

• หากมียา วิตามิน หรือสมุนไพร ที่ทานเป็นประจำ ควรนำมาด้วยหรือจดบันทึก/ถ่ายรูปฉลากมาแทนได้

• ไม่ต้องงดน้ำ งดอาหาร

 

การดูแลหลังใช้บริการ:

หลังได้รับผลการทดสอบแล้ว สามารถนำผลที่ได้มาปรับใช้เพื่อเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม

 

ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ:

• หากเป็นผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง สามารถเข้ารับบริการได้เลย

• ไม่ต้องงดยาแก้แพ้ หรือยาใด ๆ ก่อนตรวจ

 

ข้อมูลทั่วไป:

การแพ้อาหาร (Food allergy) เป็นปฏิกิริยาที่ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายตอบสนองต่ออาหารบางชนิดแบบผิดปกติ ทำให้มีอาการแพ้เกิดขึ้นเมื่อได้รับอาหารชนิดนั้นๆ โดยสามารถเกิดอาการแพ้อาหารได้เกือบทุกชนิดและไม่อาจคาดเดาระดับความรุนแรงของอาการแพ้ได้ จึงควรเรียนรู้วิธีสังเกตอาการ วิธีหลีกเลี่ยงอาหารที่แพ้ และการรักษาเพื่อให้รับมือได้อย่างถูกต้อง

 

อาการแพ้อาหารที่พบบ่อย:

• บวมตามใบหน้า รอบดวงตา ริมฝีปาก ลิ้น และในลำคอ

• กลืนอาหารลำบาก

• หายใจลำบาก หายใจติดขัด

• เวียนศีรษะคล้ายจะเป็นลม

• คลื่นไส้อาเจียน

• ท้องเสียรุนแรง

• หมดสติ

 

วิธีการทดสอบการแพ้อาหาร:

สามารถแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่

• ทดสอบการแพ้แบบ Open blind คือผู้เข้ารับการทดสอบและแพทย์ผู้ดูแลทราบชนิดอาหารที่จะทำการทดสอบ เป็นการทดสอบการแพ้อาหารที่ใช้บ่อยและสะดวก

• ทดสอบการแพ้แบบ Single blind คือผู้เข้ารับการทดสอบไม่ทราบว่าทดสอบด้วยอาหารชนิดใด มีเพียงแพทย์หรือผู้ดูแลการทดสอบเท่านั้นที่ทราบ

• ทดสอบการแพ้แบบ Double blind คือผู้เข้ารับการทดสอบและแพทย์หรือผู้ดูแลไม่ทราบว่าวันใดคืออาหารจริง (มีอาหารที่ต้องการทดสอบซ่อนไว้) วันใดคืออาหารหลอก (ไม่มีอาหารที่ต้องการทดสอบในนั้น) เพื่อลดอคติในการทดสอบ วิธีนี้เป็นวิธีที่ได้มาตรฐานที่สุด มักใช้ในการวิจัยหรือกรณีที่ผู้ป่วยกลัวการรับประทานอาหารที่สงสัย

 

การเตรียมตัวก่อนมาทดสอบการแพ้อาหาร:

• ผู้เข้ารับการทดสอบต้องไม่มีอาการเจ็บป่วยภายใน 7 วัน ก่อนวันเข้ารับการทดสอบ"

 

"มีรายการตรวจดังนี้:

1. ข้าวบาร์เลย์

2. แป้งไกลอะดิน

3. ข้าวโอ๊ต

4. แป้งไรย์

5. แป้งสเปลท์

6. ข้าวสาลี

7. แป้งบักวีท

8. เมล็ดแฟลกซ์

9. ข้าวโพด

10. ข้าวฟ่าง (ข้าวเดือย)

11. ข้าวเจ้า

12. เนื้อวัว

13. เนื้อไก่

14. เนื้อแกะ

15. เนื้อหมู

16. ไก่งวง

17. นมวัว

18. ไข่แดง

19. ไข่ขาว

20. ชีสแพะ

21. นมแพะ

22. นมแกะ

23. ชีสแกะ

24. โยเกิร์ต

25. มะเขือม่วง

26. หัวบีทรูท

27. พริกหยวก

28. บรอกโคลี

29. แครอท

30. ผักขึ้นฉ่าย

31. พริก

32. แตงกวา

33. ฮอสแรดิช (วาซาบิเทียม)

34. ต้นหอมญี่ปุ่น

35. มะกอก

36. หัวหอม 

37. มันฝรั่ง

38. กะหล่ำปลีแดง

39. มะเขือเทศ

40. หัวผักกาด

41. บวบ

42. อาร์ติโชก

43. หน่อไม้ฝรั่ง

44. ผักโขม

45. ถั่วแขก

46. ถั่ว

47. ถั่วเหลือง

48. ถั่วเลนทิล (เมล็ดกลมแบนขนาดเล็ก)

49. ถั่วขาว

50. ผักกาดหอม

51. คอร์นสลัด

52. แอปเปิล

53. ผลแอปปริคอต

54. กล้วย

55. เชอร์รี่

56. องุ่น

57. กีวี่

58. มะนาว

59. ลูกท้อ

60. ส้ม

61. สับปะรด

62. สตรอเบอร์รี่

63. แตงโม

64. ลูกแพร์

65. ลูกพลัม

66. ส้มชนิดหนึ่งตระกูลส้มโอ

67. ลูกพีช

68. ผลอินทผลัม

69. ใบโหระพา

70. พริกไทยดำ/ขาว

71. อบเชย

72. กระเทียม

73. เมล็ดมัสตาร์ด

74. ลูกจันทน์เทศ

75. ออริกาโน

76. พาร์สเลย์ และผักชี

77. ใบสะระแหน่

78. เมล็ดป๊อปปี้

79. โรสแมรี่

80. ไธม์

81. วานิลลา

82. ถั่วอัลมอนด์

83. มะม่วงหิมพานต์

84. เมล็ดโกโก้

85. ถั่วเฮเซล

86. ถั่วลิสง

87. ถั่วพิสตาชิโอ

88. งา

89. เมล็ดทานตะวัน

90. ถั่ววอลนัต

91. มะพร้าว และเนื้อมะพร้าว

92. เห็ดผสม เห็ดนางรม เห็ดฟาง เห็ดหอม และเห็ดชองเทอเรลล์

93. เห็ดผสม (Bay Boletus, Boletus)

94. กุ้ง

95. ปลาแซลมอน

96. ปลาทูน่า

97. หอยกาบ

98. กุ้ง

99. ปลาแอนโชวี่

100. ปลาฉนาก

101. ปลาเทราต์

102. ปลาตาเดียว และปลาลิ้นหมา

103. ปลาค็อด

104. ยีสต์สำหรับหมักเครื่องดื่ม

105. ยีสต์สำหรับทำขนมปัง

106. น้ำผึ้ง

107. กาแฟ

108. ชาดำ

109. เมล็ดแครอบ (คล้ายโกโก้ใช้ทำขนม แทนช็อคโกแลต)

110. น้ำมันจากดอกเรปซีด

111. เนื้อเป็ด

112. เนื้อแพะ

113. เนื้อห่าน

114. เนื้อนกกระจอกเทศ

115. เนื้อนกกระทา

116. เนื้อกระต่าย

117. เนื้อกวางตัวเมีย

118. ไก่ต๊อก

119. เนื้อม้า

120. นมหมักมีรสเปรี้ยว

121. เบต้าแลคโตกลอบูลิน (พบในนมวัว)

122. เนย

123. เนยแข็งคาเมมเบิร์ต

124. เคซีน โปรตีนในนมวัว

125. ชีสชนิดเอมเมนทอล

126. ชีสชนิดคอตเตจ

127. ชีสชนิดมอสซาเรลล่า

128. ชีสแปรรูป

129. ชีสนมเปรี้ยว

130. หน่อไม้

131. พืชตระกูลกะหล่ำปลี

132. กะหล่ำดอก

133. ผักชาร์ด

134. ผักกาดขาว

135. เฟนเนล

136. พืชตระกูลบวบ

137. ทานตะวัน และแห้วบัวตอง

138. ผักเคล

139. หัวไชเท้า

140. กะหล่ำปลีใบย่น

141. มันเทศ

142. ใบองุ่น

143. กะหล่ำปลีขาว

144. หอมแดง

145. ชะเอม

146. ถั่วลันเตา

147. ถั่วปากอ้า

148. ถั่วชิคพี

149. ถั่วเขียว (ที่นำมาเพาะถั่วงอก)

150. ถั่วแดง

151. ผักชิโคลี

152. ผักกาดแก้ว

153. ผักรอกเก็ต (ใช้ทำสลัด)

154. อะโวคาโด

155. แบล็กเบอร์รี่

156. บลูเบอร์รี่

157. แครนเบอร์รี่

158. เรดเคอร์แรนต์

159. แบล็กเคอร์เรนต์

160. มะเดือฝรั่ง

161. กูสเบอร์รี่

162. เมล่อนฮันนี่ดิว

163. มะนาว

164. ลิ้นจี่

165. มะม่วง

166. มะละกอ

167. ทับทิม

168. ราสเบอร์รี่

169. โรสฮิพ ผลกุหลาบป่า

170. แคนตาลูป

171. ลูกเกด

172. เมล็ดผักชี

173. ใบกระวาน

174. ดอกคาโมมายด์ และเก๊กฮวย

175. เมล็ดเคเปอร์

176. ใบกุยช่าย และต้นกุยช่าย

177. กานพลู

178. ใบผักชี

179. ยี่หร่า

180. ผักชีลาว

181. ขิง

182. มาเจอรัม

183. หญ้าฝรั่น

184. ผกากรอง (เสจ)

185. พริกป่น

186. เครื่องแกง

187. ใบทารากอน

188. ใบฮอพส์

189. สะระแหน่ ใบมินต์

190. ถั่วบราซิล

191. ถั่วแมคคาเดเมีย

192. ลูกสน

193. เกาลัด

194. ถั่วโคล่า

195. ปลาคาร์พ

196. ปลาหมึกกล้วย

197. ปลาไหล

198. ปลาทรายแดง

199. ปลาแฮดดัก

200. ปลาไพด์

201. ปลาเทเบิล

202. ปลาแฮริ่ง

203. กุ้งล็อบสเตอร์

204. ปลาแมกเคอเรล

205. ปลาหมึกสาย

206. หอยนางรม

207. ปลาซาร์ดีน

208. ปลากะพงแดง

209. ปลากะพง

210. ไข่ปลาคาเวียร์

211. ปู

212. วุ้น ผงวุ้น

213. ว่านหางจระเข้

214. ชาเขียว

215. ผงฟู

216. น้ำมันดอกคำฝอย

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ:

• ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่ควรอดนอน

• ไม่ต้องงดน้ำ งดอาหารก่อนตรวจ

• ควรสวมเสื้อที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน

ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ:

• การตรวจภูมิแพ้อาหารแฝงไม่ได้เป็นการวินิจฉัยโรค เป็นเพียงทางเลือกหนึ่งในการดูแลสุขภาพ ช่วยให้เลือกหรือปรับการรับประทานอาหารได้อย่างเหมาะสม

ภูมิแพ้แบบแฝง (Food Intolerance)

เป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถย่อยอาหารบางชนิดได้ตามปกติ แต่จะไม่แสดงอาการทันที จึงไม่สามารถระบุชนิดอาหารที่แพ้ได้ ต่างจากการแพ้ปกติที่แสดงอาการให้เห็นในเวลาอันสั้น แม้การแสดงออกของการแพ้อาหารแบบแฝงจะไม่รุนแรง แต่ก็ทำให้เกิดอาการเรื้อรังอื่นๆ ได้ จึงควรรีบตรวจหาต้นตอเพื่อการรักษาและดูแลอาการอย่างถูกต้องต่อไป

สาเหตุ:

การแพ้อาหารแฝง เกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่มี 2 สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ

• ร่างกายขาดเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการย่อยอาหารนั้นๆ ทำให้ไม่สามารถย่อยและดูดซึมไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

• ร่างกายไวต่อสารบางชนิดในอาหาร เช่น สารปรุงแต่ง หรือสารที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติในอาหาร อาการจะมีมากขึ้นเมื่อรับประทานอาหารชนิดนั้นมากเกินไป

อาการที่พบบ่อย:

• ท้องอืด

• ท้องผูก

• ปวดท้อง

• ท้องเสีย

• ปวดศีรษะ

• ไอ

• น้ำมูกไหล

• ครั่นเนื้อครั่นตัว

• อ่อนเพลีย

• มีผื่นคัน

• ลมพิษ

แม้อาการเหล่านี้อาจเป็นได้ทั้งจากภูมิแพ้อาหารแฝงและปัญหาสุขภาพอื่น ๆ แต่หากมีอาการบ่อย ๆ หรือรุนแรง ควรพบแพทย์เพื่อรักษา

วิธีตรวจอาการแพ้อาหารแฝงด้วยตัวเอง:

• จดบันทึกรายการอาหารที่รับประทานและอาการที่เกิดขึ้นหลังจากนั้น

• งดรับประทานอาหารที่สงสัยว่า อาจเป็นสาเหตุทีละชนิด ราว 2-6 สัปดาห์

• กลับไปรับประทานอาหารชนิดนั้นอีกครั้ง หากกลับมามีอาการ ก็เป็นไปได้ว่าสาเหตุมาจากอาหารชนิดนั้น

นอกจากนี้ยังสามารถเข้ารับการตรวจเลือดหาภูมิคุ้มกันในเลือดที่จำเพาะต่ออาหารแต่ละชนิด (Food specific IgG) เพื่อช่วยระบุชนิดอาหารที่มีความเป็นไปได้ที่จะทำให้เกิดภาวะภูมิแพ้อาหารแฝงได้

หมายเหตุ:

• หลังจากได้รับผลการทดสอบแล้วนั้น สามารถนำผลที่ได้มาปรับใช้เลือกกินอาหารที่เหมาะสม เพื่อลดอาหารที่ส่งเสริมอาการแพ้

• ไม่ใช่โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี จึงไม่จำเป็นต้องตรวจทุกปี และ ตรวจเช็คร่างกาย และตรวจเลือด 6 รายการ เพื่อประเมินระดับความเสื่อมของร่างกาย  ประเมินความเสี่ยงในการป่วยเป็นโรคที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต เหมาะสำหรับเป็นโปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี ที่ Bangkok Wellness Medical Clinic"

"มีรายการตรวจดังนี้: 

1. ข้าวบาร์เลย์

2. แป้งไกลอะดิน

3. ข้าวโอ๊ต

4. แป้งไรย์

5. แป้งสเปลท์

6. ข้าวสาลี

7. แป้งบักวีท

8. เมล็ดแฟลกซ์

9. ข้าวโพด

10. ข้าวฟ่าง (ข้าวเดือย)

11. ข้าวเจ้า

12. เนื้อวัว

13. เนื้อไก่

14. เนื้อแกะ

15. เนื้อหมู

16. ไก่งวง

17. นมวัว

18. ไข่แดง

19. ไข่ขาว

20. ชีสแพะ

21. นมแพะ

22. นมแกะ

23. ชีสแกะ

24. โยเกิร์ต

25. มะเขือม่วง

26. หัวบีทรูท

27. พริกหยวก

28. บรอกโคลี

29. แครอท

30. ผักขึ้นฉ่าย

31. พริก

32. แตงกวา

33. ฮอสแรดิช (วาซาบิเทียม)

34. ต้นหอมญี่ปุ่น

35. มะกอก

36. หัวหอม

37. มันฝรั่ง

38. กะหล่ำปลีแดง

39. มะเขือเทศ

40. หัวผักกาด

41. บวบ

42. อาร์ติโชก

43. หน่อไม้ฝรั่ง

44. ผักโขม

45. ถั่วแขก

46. ถั่ว

47. ถั่วเหลือง

48. ถั่วเลนทิล (เมล็ดกลมแบนขนาดเล็ก)

49. ถั่วขาว

50. ผักกาดหอม

51. คอร์นสลัด

52. แอปเปิล

53. ผลแอปปริคอต

54. กล้วย

55. เชอร์รี่

56. องุ่น

57. กีวี่

58. มะนาว

59. ลูกท้อ

60. ส้ม

61. สับปะรด

62. สตรอเบอร์รี่

63. แตงโม

64. ลูกแพร์

65. ลูกพลัม

66. ส้มชนิดหนึ่งตระกูลส้มโอ

67. ลูกพีช

68. ผลอินทผลัม

69. ใบโหระพา

70. พริกไทยดำ/ขาว

71. อบเชย

72. กระเทียม

73. เมล็ดมัสตาร์ด

74. ลูกจันทน์เทศ

75. ออริกาโน

76. พาร์สเลย์ และผักชี

77. ใบสะระแหน่

78. เมล็ดป๊อปปี้

79. โรสแมรี่

80. ไธม์

81. วานิลลา

82. ถั่วอัลมอนด์

83. มะม่วงหิมพานต์

84. เมล็ดโกโก้

85. ถั่วเฮเซล

86. ถั่วลิสง

87. ถั่วพิสตาชิโอ

88. งา

89. เมล็ดทานตะวัน

90. ถั่ววอลนัต

91. มะพร้าว และเนื้อมะพร้าว

92. เห็ดผสม เห็ดนางรม เห็ดฟาง เห็ดหอม และเห็ดชองเทอเรลล์

93. เห็ดผสม (Bay Boletus, Boletus)

94. กุ้ง

95. ปลาแซลมอน

96. ปลาทูน่า

97. หอยกาบ

98. กุ้ง

99. ปลาแอนโชวี่

100. ปลาฉนาก

101. ปลาเทราต์

102. ปลาตาเดียว และปลาลิ้นหมา

103. ปลาค็อด

104. ยีสต์สำหรับหมักเครื่องดื่ม

105. ยีสต์สำหรับทำขนมปัง

106. น้ำผึ้ง

107. กาแฟ

108. ชาดำ

109. เมล็ดแครอบ (คล้ายโกโก้ใช้ทำขนม แทนช็อคโกแลต)

110. น้ำมันจากดอกเรปซีด

111. เนื้อเป็ด

112. เนื้อแพะ

113. เนื้อห่าน

114. เนื้อนกกระจอกเทศ

115. เนื้อนกกระทา

116. เนื้อกระต่าย

117. เนื้อกวางตัวเมีย

118. ไก่ต๊อก

119. เนื้อม้า

120. นมหมักมีรสเปรี้ยว

121. เบต้าแลคโตกลอบูลิน (พบในนมวัว)

122. เนย

123. เนยแข็งคาเมมเบิร์ต

124. เคซีน โปรตีนในนมวัว

125. ชีสชนิดเอมเมนทอล

126. ชีสชนิดคอตเตจ

127. ชีสชนิดมอสซาเรลล่า

128. ชีสแปรรูป

129. ชีสนมเปรี้ยว

130. หน่อไม้

131. พืชตระกูลกะหล่ำปลี

132. กะหล่ำดอก

133. ผักชาร์ด

134. ผักกาดขาว

135. เฟนเนล

136. พืชตระกูลบวบ

137. ทานตะวัน และแห้วบัวตอง

138. ผักเคล

139. หัวไชเท้า

140. กะหล่ำปลีใบย่น

141. มันเทศ

142. ใบองุ่น

143. กะหล่ำปลีขาว

144. หอมแดง

145. ชะเอม

146. ถั่วลันเตา

147. ถั่วปากอ้า

148. ถั่วชิคพี

149. ถั่วเขียว (ที่นำมาเพาะถั่วงอก)

150. ถั่วแดง

151. ผักชิโคลี

152. ผักกาดแก้ว

153. ผักรอกเก็ต (ใช้ทำสลัด)

154. อะโวคาโด

155. แบล็กเบอร์รี่

156. บลูเบอร์รี่

157. แครนเบอร์รี่

158. เรดเคอร์แรนต์

159. แบล็กเคอร์เรนต์

160. มะเดือฝรั่ง

161. กูสเบอร์รี่

162. เมล่อนฮันนี่ดิว

163. มะนาว

164. ลิ้นจี่

165. มะม่วง

166. มะละกอ

167. ทับทิม

168. ราสเบอร์รี่

169. โรสฮิพ ผลกุหลาบป่า

170. แคนตาลูป

171. ลูกเกด

172. เมล็ดผักชี

173. ใบกระวาน

174. ดอกคาโมมายด์ และเก๊กฮวย

175. เมล็ดเคเปอร์

176. ใบกุยช่าย และต้นกุยช่าย

177. กานพลู

178. ใบผักชี

179. ยี่หร่า

180. ผักชีลาว

181. ขิง

182. มาเจอรัม

183. หญ้าฝรั่น

184. ผกากรอง (เสจ)

185. พริกป่น

186. เครื่องแกง

187. ใบทารากอน

188. ใบฮอพส์

189. สะระแหน่ ใบมินต์

190. ถั่วบราซิล

191. ถั่วแมคคาเดเมีย

192. ลูกสน

193. เกาลัด

194. ถั่วโคล่า

195. ปลาคาร์พ

196. ปลาหมึกกล้วย

197. ปลาไหล

198. ปลาทรายแดง

199. ปลาแฮดดัก

200. ปลาไพด์

201. ปลาเทเบิล

202. ปลาแฮริ่ง

203. กุ้งล็อบสเตอร์

204. ปลาแมกเคอเรล

205. ปลาหมึกสาย

206. หอยนางรม

207. ปลาซาร์ดีน

208. ปลากะพงแดง

209. ปลากะพง

210. ไข่ปลาคาเวียร์

211. ปู

212. วุ้น ผงวุ้น

213. ว่านหางจระเข้

214. ชาเขียว

215. ผงฟู

216. น้ำมันดอกคำฝอย

 

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ:

• ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่ควรอดนอน

• ไม่ต้องงดน้ำ งดอาหารก่อนตรวจ

• ควรสวมเสื้อที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน

 

ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ: 

• การตรวจภูมิแพ้อาหารแฝงไม่ได้เป็นการวินิจฉัยโรค เป็นเพียงทางเลือกหนึ่งในการดูแลสุขภาพ ช่วยให้เลือกหรือปรับการรับประทานอาหารได้อย่างเหมาะสม

 

ภูมิแพ้แบบแฝง (Food Intolerance)

เป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถย่อยอาหารบางชนิดได้ตามปกติ แต่จะไม่แสดงอาการทันที จึงไม่สามารถระบุชนิดอาหารที่แพ้ได้ ต่างจากการแพ้ปกติที่แสดงอาการให้เห็นในเวลาอันสั้น แม้การแสดงออกของการแพ้อาหารแบบแฝงจะไม่รุนแรง แต่ก็ทำให้เกิดอาการเรื้อรังอื่นๆ ได้ จึงควรรีบตรวจหาต้นตอเพื่อการรักษาและดูแลอาการอย่างถูกต้องต่อไป

 

สาเหตุ: 

การแพ้อาหารแฝง เกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่มี 2 สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ

• ร่างกายขาดเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการย่อยอาหารนั้นๆ ทำให้ไม่สามารถย่อยและดูดซึมไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

• ร่างกายไวต่อสารบางชนิดในอาหาร เช่น สารปรุงแต่ง หรือสารที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติในอาหาร อาการจะมีมากขึ้นเมื่อรับประทานอาหารชนิดนั้นมากเกินไป

 

อาการที่พบบ่อย:

• ท้องอืด

• ท้องผูก

• ปวดท้อง

• ท้องเสีย

• ปวดศีรษะ

• ไอ

• น้ำมูกไหล

• ครั่นเนื้อครั่นตัว

• อ่อนเพลีย

• มีผื่นคัน

• ลมพิษ

แม้อาการเหล่านี้อาจเป็นได้ทั้งจากภูมิแพ้อาหารแฝงและปัญหาสุขภาพอื่น ๆ แต่หากมีอาการบ่อย ๆ หรือรุนแรง ควรพบแพทย์เพื่อรักษา

 

วิธีตรวจอาการแพ้อาหารแฝงด้วยตัวเอง:

• จดบันทึกรายการอาหารที่รับประทานและอาการที่เกิดขึ้นหลังจากนั้น

• งดรับประทานอาหารที่สงสัยว่า อาจเป็นสาเหตุทีละชนิด ราว 2-6 สัปดาห์

• กลับไปรับประทานอาหารชนิดนั้นอีกครั้ง หากกลับมามีอาการ ก็เป็นไปได้ว่าสาเหตุมาจากอาหารชนิดนั้น

นอกจากนี้ยังสามารถเข้ารับการตรวจเลือดหาภูมิคุ้มกันในเลือดที่จำเพาะต่ออาหารแต่ละชนิด (Food specific IgG) เพื่อช่วยระบุชนิดอาหารที่มีความเป็นไปได้ที่จะทำให้เกิดภาวะภูมิแพ้อาหารแฝงได้

 

หมายเหตุ:

• หลังจากได้รับผลการทดสอบแล้วนั้น สามารถนำผลที่ได้มาปรับใช้เลือกกินอาหารที่เหมาะสม เพื่อลดอาหารที่ส่งเสริมอาการแพ้

• ไม่ใช่โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี จึงไม่จำเป็นต้องตรวจทุกปี

 

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

ค่ารักษาข้อเข่า ด้วยการฉีด PRP เกล็ดเลือดเข้มข้น 1 ครั้ง

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็คเกจ ฉีด PRP ข้อเข่า

• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-40 นาที

• แพทย์จะให้คำปรึกษาและคำแนะนำก่อนเริ่มกระบวนการฉีด PRP

• ผลลัพธ์ที่ได้แตกต่างกันไปตามแต่ละบุคคล

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ

• นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ 6-8 ชั่วโมง

• ควรศึกษาข้อมูลและปรึกษาแพทย์ก่อนทำ

• งดรับประทานยาหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารบางชนิด 1 สัปดาห์ก่อนทำ เช่น แอสไพริน ไอบูโพรเฟน ไดโคลฟีแนค พอนสแตน วิตามินอี น้ำมันปลา ใบแปะก๊วย โสม St. John's wort น้ำมันกระเทียม เพราะมีผลต่อยาต้านการแข็งตัวของเลือด (ควรปรึกษาแพทย์ที่รักษาก่อนหยุดยา)

• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างน้อย 2-3 วัน

• งดยา NSAIDs ก่อนและหลังการฉีด PRP เป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์

• ดื่มน้ำมากๆ ตั้งแต่ก่อนวันฉีด 1 วัน

• ถ้ามีอาการป่วยอยู่ ควรรักษาให้หายก่อน เพราะอาจมีเชื้อในกระแสเลือด

ข้อห้ามสำหรับการฉีด PRP

• การฉีด PRP จะต้องเก็บเลือดของผู้เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมเองมาปั่นแยกเกล็ดเลือด ดังนั้นผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับเกล็ดเลือดจึงไม่สามารถเข้ารับการรักษาด้วยวิธีนี้ได้ เช่น

• ผู้ป่วยโรคโลหิตจาง

• ผู้ป่วยที่มีเกล็ดเลือดต่ำหรือเกล็ดเลือดทำงานผิดปกติ

• ผู้ป่วยโรคมะเร็ง โดยเฉพาะมะเร็งเม็ดเลือดขาวและมะเร็งกระดูก

• ผู้ป่วยที่รับประทานยาต้านเกล็ดเลือดหรือยาละลายลิ่มเลือด

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการฉีด PRP ข้อเข่า

การฉีดเกล็ดเลือดสกัดเข้มข้น หรือการฉีดพีอาร์พี (Platelet Rich Plasma: PRP)⠀เป็นหนึ่งในการแพทย์ทางเลือก ใช้รักษาโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้ที่มีอาการระดับปานกลาง มีความปลอดภัยมากและมีโอกาสเกิดอาการแพ้น้อย เพราะใช้เกล็ดเลือดที่สกัดจากเลือดของตัวเอง

ในเกล็ดเลือดจะมีโกรทแฟคเตอร์ (Growth factor) หลายชนิด โปรตีน และเซลล์จากกระแสเลือด ซึ่งช่วยในการซ่อมแซมหลอดเลือด กระดูก และกล้ามเนื้อ กระตุ้นให้เกิดการสร้างเซลล์และคอลลาเจน อีกทั้งยังมีฤทธิ์ต้านการอักเสบ ช่วยบรรเทาอาการปวดในข้อได้เป็นอย่างดี

แพทย์มักแนะนำให้ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมเข้ารับการฉีด PRP หลังจากที่การรักษาด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรับประทานยาแก้ปวดไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร

ในช่วงที่รับการรักษาด้วยวิธีนี้ผู้ป่วยไม่ควรใช้ยาชา ยาต้านการอักเสบ หรือยาสเตียรอยด์ เพราะตัวยาจะไปลดประสิทธิภาพการทำงานของเกล็ดเลือด

การฉีดวิตามินเข้าสู่ร่างกาย

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

• ค่าคอร์สฉีดวิตามินดี Vitamin D Injection 3 ครั้ง

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ฉีดวิตามินดี

• ระยะเวลารับบริการประมาณ 1 ชั่วโมง

• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ

ข้อห้ามสำหรับการฉีดวิตามิน

• สตรีมีครรภ์ หรือกำลังให้นมบุตร

• ไม่ควรฉีดวิตามินในผู้ที่มีภาวะไตล้มเหลว

• ควรหลีกเลี่ยงในผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับหัวใจ ไต และความดันโลหิต

• ควรแจ้งให้แพทย์ทราบหากกำลังรับประทานยา อาหารเสริม มีโรคประจำตัว หรือมีประวัติการแพ้อื่นๆ

สิ่งที่ควรแจ้งให้แพทย์ทราบก่อนรับบริการ

• ยาและอาหารเสริมที่กำลังรับประทานอยู่ รวมถึงโรคประจำตัว และประวัติการแพ้อื่นๆ

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

ค่าตรวจสุขภาพ 24 รายการ โปรแกรม BWM Check Up มีรายการตรวจดังนี้

1.ตรวจความบกพร่องเอนไซม์ (G6PD)

2.ตรวจคัดกรองภาวะโรคไต (Cr)

3.ตรวจคัดกรองโรคตับ (AST-SGOT)

4.ตรวจคัดกรองโรคตับ (ALT-SGPT)

5.ตรวจค่าน้ำตาลสะสมในเลือด

6.ตรวจตะกอนของเม็ดเลือดแดง

7.ตรวจระดับการอักเสบของหลอดเลือด

8.ตรวจภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ

9.ตรวจสารตะกั่วในเลือด

10.ตรวจค่าคอเลสเตอรอลในเลือด

11.ตรวจค่าไตรกลีเซอไรด์

12.ตรวจระดับไขมันชนิดดี (HDL-C)

13.ตรวจระดับไขมันชนิดไม่ดีในเลือด (LDL-C)

ค่าตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย ด้วยเครื่อง EIS 8 รายการ มีรายการตรวจดังนี้

1.ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด

2.ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ

3.ตรวจสแกนระบบขับถ่าย และระบบสืบพันธุ์

4.ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ

5.ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ

6.ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร

7.ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง

8.ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร

• ค่าปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการ (Doctor Consultant)

ค่าฉีดวิตามินดี Vitamin D Injection 1 ครั้ง

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ตรวจสุขภาพ ฉีดวิตามิน

• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-60 นาที

• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ

• ใช้วิธีการเจาะเลือด และตรวจสแกนร่างกายด้วยเทคโนโลยี Electro Interstitial Scan โดยการส่งกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ เข้าสู่ร่างกาย เพื่อวัดความต้านทานของน้ำที่อยู่ระหว่างเซลล์แต่ละอวัยวะ

• ทราบผลการตรวจประมาณ 7-14 วันหลังรับบริการ

• ผู้รับบริการจะต้องเข้ามาพบแพทย์และผู้เชี่ยวชาญ ทั้งหมด 2 ครั้ง

• ครั้งแรก เจาะเลือดที่ปลายนิ้วมือ เพื่อส่งไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการพิเศษ และตรวจสแกนร่างกาย 8 ระบบ ด้วยเครื่อง EIS

• ครั้งที่สอง ฟังการวิเคราะห์ผลเลือดและปรึกษาแพทย์ (ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม)

• หากมีการดามเหล็กในร่างกาย หรือทำบอลลูนหัวใจ จะไม่สามารถตรวจร่างกายในส่วนของการสแกนร่างกายได้

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

• ค่าฉีดวิตามินดี Vitamin D Injection 1 ครั้ง

• ค่าให้วิตามินทางหลอดเลือดแบบ Drip สูตร Immune Booster 1 ครั้ง

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ฉีดวิตามินดี และทำ IV Drip สูตร Immune Booster

• ระยะเวลารับบริการประมาณ 1 ชั่วโมง

• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ

• โปรแกรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ด้วยวิตามินรวมที่มีความเข้มข้นสูง เเละเเร่ธาตุที่หลากหลาย สามารถช่วยกระตุ้นเม็ดเลือดขาวที่ทำหน้าที่สำคัญในระบบภูมิคุ้มกันให้แข็งเเรง พร้อมที่จะต่อสู้กับเชื้อโรคเเละไวรัสต่างๆที่เข้ามาสู่ร่างกาย ชะลอความเสื่อมลองเซลล์ ลดอาการภูมิแพ้ช่วยลดความเครียดและผิวพรรณสดใส

ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ

ข้อห้ามสำหรับการฉีดวิตามิน

• สตรีมีครรภ์ หรือกำลังให้นมบุตร

• ไม่ควรฉีดวิตามินในผู้ที่มีภาวะไตล้มเหลว

• ควรหลีกเลี่ยงในผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับหัวใจ ไต และความดันโลหิต

• ควรแจ้งให้แพทย์ทราบหากกำลังรับประทานยา อาหารเสริม มีโรคประจำตัว หรือมีประวัติการแพ้อื่นๆ

สิ่งที่ควรแจ้งให้แพทย์ทราบก่อนรับบริการ

• ยาและอาหารเสริมที่กำลังรับประทานอยู่ รวมถึงโรคประจำตัว และประวัติการแพ้อื่นๆ

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

- ค่าฉีดวิตามินดี Vitamin D Injection 1 ครั้ง

- ค่าตรวจหาปริมาณภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส COVID-19 IgG Antibody Quantitative ด้วยวิธี CMIA สำหรับผู้ที่เคยได้รับเชื้อหรือฉีดวัคซีนครบ 2 เข็มแล้ว 1 ท่าน 1 ครั้ง

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการฉีดวิตามินดี

การฉีดวิตามิน⠀เป็นการให้วิตามินและแร่ธาตุที่จำเป็นต่อร่างกายโดยการฉีดเข้ากระแสเลือดโดยตรง ซึ่งมีข้อดีคือทำให้ปริมาณวิตามิน เกลือแร่ หรือสารอื่นๆ ที่ได้รับครบถ้วนตามต้องการ ทั้งยังสามารถเลือกสูตรของวิตามินให้เหมาะกับประโยชน์ที่ต้องการและความจำเป็นเฉพาะกับแต่ละคนอีกด้วย

ประโยชน์ของการฉีดวิตามินมีอะไรบ้าง?

สูตรของวิตามินที่ใช้อาจเน้นเสริมในเรื่องต่างๆ แตกต่างกันไป เช่น 

• เสริมระบบภูมิคุ้มกัน

• ช่วยต้านอนุมูลอิสระ

• ลดความเครียดที่เกิดขึ้นในร่างกาย

• ฟื้นฟูสุขภาพ

• เสริมให้ผิวพรรณดูเปล่งปลั่ง

• บรรเทาอาการหรือช่วยเสริมการรักษาโรคบางประเภทได้

ตรวจหาปริมาณแอนติบอดีต่อเชื้อโควิด-19

โปรแกรมตรวจระดับภูมิคุ้มกันโควิด-19 เหมาะสำหรับผู้ที่ฉีดวัคซีนครบ 2 เข็มแล้ว 14 วัน หรือสามารถเช็คหลังฉีดวัคซีนหลัง 14 วันได้ เพื่อประเมินระดับภูมิคุ้มกันกับการวางแผนใช้ชีวิตประจำวัน เพื่อการมีสุขภาพที่ดีที่ Bangkok Wellness Medical Clinic

*ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็คเกจ ตรวจภูมิโควิด CMIA

- เป็นการตรวจหาแอนติบอดีจำเพาะต่อแอนติเจน ส่วนหนาม (Spike) ของไวรัส SAR-CoV-2 ในเลือด ใช้บ่งชี้การตอบสนองต่อวัคซีน COVID-19 หรือผู้ที่เคยได้รับเชื้อ COVID-19

- ระยะเวลารับบริการประมาณ 5-10 นาที ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้รับบริการ

- ควรตรวจหาภูมิคุ้มกันหลังรักษาหายและกักตัวครบ 14 วัน โดยไม่มีอาการป่วยแล้ว

- ควรตรวจหาภูมิคุ้มกันประมาณ 4 สัปดาห์หลังฉีดวัคซีนครบ 2 เข็มแล้ว

- ระยะเวลารอผลตรวจประมาณ 1-2 วันทำการ โดยจะแจ้งผลให้ทราบ ลูกค้าสามารถมารับที่คลินิก หรือส่งผลทางอีเมล์/ไปรษณีย์

- ใช้หลักการทดสอบแบบ Chemiluminescent Microparticle Immunoassay (CMIA) แปลผลเป็นค่าตัวเลขหน่วย AU/mL

- การตรวจนี้เป็นการตรวจเพื่อให้ทราบระดับของภูมิต้านทานที่เกิดขึ้น แต่ไม่ยืนยันว่าจะป้องกันการติดเชื้อได้ 100% การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการติดเชื้อด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การสวมหน้ากากอนามัย ล้างมือ และรักษาระยะห่าง ยังคงต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ในช่วงที่ยังมีการระบาดของโรค COVID-19

- หากสงสัยว่ากำลังติดเชื้อให้ใช้วิธีตรวจหาเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ด้วยวิธีมาตรฐาน หรือหากมีข้อสงสัยอาจพิจารณาตรวจซ้ำ

- การให้ผลบวกลวง (False Positive) อาจเกิดขึ้นได้จากการเกิดปฏิกิริยาข้ามกลุ่ม (Cross-reactivity) กับภูมิคุ้มกันอื่นๆ ในร่างกายที่มีอยู่ก่อนแล้ว

- ปัจจุบันยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัดว่าการตรวจพบภูมิต้านทานต่อเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 จะสามารถป้องการติดเชื้อซ้ำได้หรือไม่

- การตรวจนี้ไม่สามารถบอกประสิทธิภาพของวัคซีนแต่ละตัวได้

- ชาวต่างชาติสามารถรับบริการได้ โดยต้องมีพาสปอร์ต

*การเตรียมตัวก่อนรับบริการ

- ไม่ต้องงดเครื่องดื่มและอาหารก่อนตรวจ

*ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ

- การตรวจภูมิโควิด เป็นการตรวจระดับภูมิคุ้มกันที่ร่างกายสร้างขึ้นหลังได้รับวัคซีน หรือหลังได้รับเชื้อเท่านั้น ไม่สามารถบ่งบอกว่าสามารถป้องกันการติดเชื้อได้หรือไม่

ดังนั้นแม้ผลจะออกมาว่ามีภูมิคุ้มกันแล้ว ก็ยังควรสวมหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ หลีกเลี่ยงที่ชุมชน เพื่อป้องกันตัวเองจากโรค COVID-19 อยู่

*ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจภูมิโควิด CMIA

- การตรวจภูมิโควิด คือ การตรวจหาภูมิคุ้มกันหรือการตรวจแอนติบอดี้ ว่าร่างกายของคุณมีความสามารถในการสร้างภูมิต้านทานต่อเชื้อไวรัสขนาดไหน

- การตรวจภูมิโควิดแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ การตรวจหาระดับภูมิคุ้มกัน (Binding Antibody) กับ การตรวจความสามารถของภูมิคุ้มกันในการยับยั้งไวรัส (Neutralizing Antibody)

วิธีการตรวจภูมิโควิดแบบ Binding Antibody คืออะไร?

- การตรวจแบบ Binding Antibody คือการตรวจแอนติบอดี้ที่จับกับโปรตีนแอนติเจนของเชื้อไวรัสที่ร่างกายสร้างขึ้นหลังจากฉีดวัคซีนโควิดหรือหลังจากติดเชื้อ 

- การตรวจแบบ CMIA คือการตรวจหาภูมิคุ้มกันระยะยาว (IgG Antibody) ด้วยการวัดผลเป็นหน่วย AU/mL

- หากค่า IgG มากกว่าหรือเท่ากับ 50 AU/mL คือร่างกายสร้างภูมิต้านทานไวรัสแล้ว

- หากค่า IgG น้อยกว่า 50 AU/mL คือร่างกายยังไม่มีภูมิต้านทานไวรัส

*ข้อดีของการตรวจแบบ CMIA คือ เป็นการตรวจที่ได้มาตรฐาน WHO ค่อนข้างแม่นยำ รู้ผลเร็ว และราคาไม่สูง

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็คเกจ ตรวจภูมิโควิด CMIA

เป็นการตรวจหาแอนติบอดีจำเพาะต่อแอนติเจน ส่วนหนาม (Spike) ของไวรัส SAR-CoV-2 ในเลือด ใช้บ่งชี้การตอบสนองต่อวัคซีน COVID-19 หรือผู้ที่เคยได้รับเชื้อ COVID-19

ระยะเวลารับบริการประมาณ 5-10 นาที ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้รับบริการ

ควรตรวจหาภูมิคุ้มกันหลังรักษาหายและกักตัวครบ 14 วัน โดยไม่มีอาการป่วยแล้ว

ควรตรวจหาภูมิคุ้มกันประมาณ 4 สัปดาห์หลังฉีดวัคซีนครบ 2 เข็มแล้ว

ระยะเวลารอผลตรวจประมาณ 1-2 วันทำการ โดยจะแจ้งผลให้ทราบ ลูกค้าสามารถมารับที่คลินิก หรือส่งผลทางอีเมล์/ไปรษณีย์

ใช้หลักการทดสอบแบบ Chemiluminescent Microparticle Immunoassay (CMIA) แปลผลเป็นค่าตัวเลขหน่วย AU/mL

การตรวจนี้เป็นการตรวจเพื่อให้ทราบระดับของภูมิต้านทานที่เกิดขึ้น แต่ไม่ยืนยันว่าจะป้องกันการติดเชื้อได้ 100% การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการติดเชื้อด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การสวมหน้ากากอนามัย ล้างมือ และรักษาระยะห่าง ยังคงต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ในช่วงที่ยังมีการระบาดของโรค COVID-19

หากสงสัยว่ากำลังติดเชื้อให้ใช้วิธีตรวจหาเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ด้วยวิธีมาตรฐาน หรือหากมีข้อสงสัยอาจพิจารณาตรวจซ้ำ

การให้ผลบวกลวง (False Positive) อาจเกิดขึ้นได้จากการเกิดปฏิกิริยาข้ามกลุ่ม (Cross-reactivity) กับภูมิคุ้มกันอื่นๆ ในร่างกายที่มีอยู่ก่อนแล้ว

ปัจจุบันยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัดว่าการตรวจพบภูมิต้านทานต่อเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 จะสามารถป้องการติดเชื้อซ้ำได้หรือไม่

การตรวจนี้ไม่สามารถบอกประสิทธิภาพของวัคซีนแต่ละตัวได้

ชาวต่างชาติสามารถรับบริการได้ โดยต้องมีพาสปอร์ต

ตรวจสุขภาพทั่วไป

ใช้วิธีการเจาะเลือด และตรวจสแกนร่างกายด้วยเทคโนโลยี Electro Interstitial Scan โดยการส่งกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ เข้าสู่ร่างกาย เพื่อวัดความต้านทานของน้ำที่อยู่ระหว่างเซลล์แต่ละอวัยวะ

ตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย ด้วยเครื่อง EIS 8 รายการ มีรายการตรวจดังนี้

1.Cardiovascular functions /  ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด

2.Endocrine functions / ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ

3.Urogenital and renal functions /  ตรวจสแกนระบบขับถ่าย และระบบสืบพันธุ์

4.Neuromuscular functions /  ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ

5.Respiratory functions /  ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ

6.Digestive functions /  ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร

7.Neurologic functions /  ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง

8.General metabolic functions /  ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร

- (Doctor Consultant)    ปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการ

- วิตามินทางหลอดเลือด แบบ Drip สูตรกระตุ้นภูมิคุ้มกัน 1 ครั้ง

Laboratory Test (การวิเคราะห์เลือดในห้องปฏิบัติการ) 14 รายการ มีรายการตรวจดังนี้ 

1. CBC (ตรวจหาความสมบูรณ์ ของเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด)

2. G-6-PD (ตรวจหาเอนไซม์ปกป้องเม็ดเลือดแดงไม่ให้แตกง่าย)

3. Creatinine – eGFR (ตรวจหาค่าการทำงานของไต)

4. AST (SGOT) (ตรวจหาค่าเอนไซม์ของตับ)

5. ALT (SGPT) (ตรวจหาเอนไซม์ของ ตับ)

6. Hemoglobin A1C (HbA1c) (ตรวจวัดระดับน้ำตามสะสมในเลือด)

7. Total Cholesterol (ตรวจหาค่าไขมันคอเลสเตอรอล)

8. Triglyceride (ตรวจหาค่าไขมันไตรกลีเซอไรด์)

9.  HDL - Cholesterol (ตรวจหาค่า ไขมันดี)

10. LDL - Cholesterol (ตรวจหาค่า ไขมันเลว)

11. ESR (ตรวจหาค่าการอักเสบของร่างกายโดยรวม ไม่เฉพาะเจาะจง)

12. CRP (ตรวจหาค่าการอักเสบของร่างกาย)

13. Homocysteine (ตรวจหาค่าการอักเสบของเลือดที่ก่อให้เกิด โรคความดันสูง โรคหัวใจ อัมพฤกษ์ อัมพาต)

14. Lead (pd) (ตรวจหาค่าตะกั่วในเลือด)

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

ค่าตรวจร่างกาย 24 รายการ มีรายการตรวจดังนี้

1. ตรวจความบกพร่องเอนไซม์ (G6PD)

2. ตรวจคัดกรองภาวะโรคไต (Cr)

3. ตรวจคัดกรองโรคตับ (AST-SGOT)

4. ตรวจคัดกรองโรคตับ (ALT-SGPT)

5. ตรวจค่าน้ำตาลสะสมในเลือด

6. ตรวจตะกอนของเม็ดเลือดแดง

7. ตรวจระดับการอักเสบของหลอดเลือด

8. ตรวจภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ

9. ตรวจสารตะกั่วในเลือด

10. ตรวจค่าคอเลสเตอรอลในเลือด

11. ตรวจค่าไตรกลีเซอไรด์

12. ตรวจระดับไขมันชนิดดี (HDL-C)

13. ตรวจระดับไขมันชนิดไม่ดีในเลือด (LDL-C)

14. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด

- ค่าตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย ด้วยเครื่อง EIS 8 รายการ มีรายการตรวจดังนี้

1. ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด

2. ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ

3. ตรวจสแกนระบบขับถ่าย และระบบสืบพันธุ์

4. ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ

5. ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ

6. ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร

7. ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง

8. ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร

ค่าตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง (Live Blood Analysis)

ค่าปรึกษาแพทย์ (Doctor Consultant)

ค่าตรวจหาปริมาณภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส COVID-19 IgG Antibody Quantitative ด้วยวิธี CMIA สำหรับผู้ที่เคยได้รับเชื้อหรือฉีดวัคซีนครบ 2 เข็มแล้ว 1 ท่าน 1 ครั้ง

ตรวจมะเร็งทั่วไป

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

ค่าตรวจมะเร็ง Cancer Screening Test สำหรับผู้ชาย Lab 15 รายการ มีรายการตรวจดังนี้

ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)

ตรวจคัดกรองภาวะโรคไต (BUN)

ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (FBS)

ตรวจคัดกรองภาวะโรคไต (Creatinine + eGFR)

ตรวจคัดกรองภาวะโรคเกาต์ Uric Acid

ตรวจคัดกรองโรคตับ (SGOT-AST)

ตรวจคัดกรองโรคตับ (SGPT-ALT)

ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งตับ (AFP)

ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งลำไส้ (CEA)

ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก (PSA)

ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก (Free PSA)

ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน (CA 19-9)

ตรวจเอนไซม์ LDH

ตรวจสารเฟอร์ริติน (Serum Ferritin)

ตรวจระดับฮอร์โมนเพศหญิง (Beta hCG)

ตรวจภูมิแพ้และภาวะแพ้

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

ค่าตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 222 รายการ

ตรวจหาปริมาณภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส COVID-19 IgG Antibody Quantitative ด้วยวิธี CMIA สำหรับผู้ที่เคยได้รับเชื้อหรือฉีดวัคซีนครบ 2 เข็มแล้ว 1 ท่าน 1 ครั้ง

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 

ภูมิแพ้แบบแฝง⠀(Food Intolerance) เป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถย่อยอาหารบางชนิดได้ตามปกติ แต่จะไม่แสดงอาการทันทีจึงไม่สามารถระบุชนิดอาหารที่แพ้ได้ ต่างจากการแพ้ปกติที่แสดงอาการให้เห็นในเวลาอันสั้น แม้การแสดงออกของการแพ้อาหารแบบแฝงจะไม่รุนแรง แต่ก็ทำให้เกิดอาการเรื้อรังอื่นๆ ได้ จึงควรรีบตรวจหาต้นตอเพื่อการรักษาและดูแลอาการอย่างถูกต้องต่อไป

สาเหตุ

แม้จะเกิดขึ้นได้จากหลากหลายสาเหตุ แต่มี 2 สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ

• ร่างกายขาดเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการย่อยอาหารนั้นๆ ทำให้ไม่สามารถย่อยและดูดซึมไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

• ร่างกายไวต่อสารบางชนิดในอาหาร เช่น สารปรุงแต่ง หรือสารที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติในอาหาร อาการจะมีมากขึ้นเมื่อรับประทานอาหารชนิดนั้นมากเกินไป

อาการที่พบบ่อย

• ท้องอืด

• ท้องผูก

• ปวดท้อง

• ท้องเสีย

• ปวดศีรษะ

• ไอ

• น้ำมูกไหล

• ครั่นเนื้อครั่นตัว

• อ่อนเพลีย

• มีผื่นคัน

• ลมพิษ

การจัดอันดับสถานที่

4.9


บรรยากาศ
ความสะอาด
พนักงาน
คุ้มค่า
How to get there

Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)
22/22 Ratchada-Ramintra Road Ramintra, Khan Na Yao, Bangkok 10230

Mon 09:00 AM - 07:00 PM

Tue 09:00 AM - 07:00 PM

Wed 09:00 AM - 07:00 PM

Thu 09:00 AM - 07:00 PM

Fri 09:00 AM - 07:00 PM

Sat 09:00 AM - 07:00 PM

Sun 09:00 AM - 07:00 PM

รีวิว (เขียนโดยลูกค้าหลักจากที่มาเยือน)
user icon

Kanyapak

ไปถึงได้วัดความดัน เจาะเลือด รอสักพักไปตรวจ bio ก็คือการเอาแผ่นเหล็กมารองตรวจร่างกายระดับเซลล์ คุณหมอก็อธิบายคร่าวๆ วนๆ จากนั้นไปทำ shockwave อันนี้ดี เสร็จก็นั่งรอเกือบชม.เลย ไม่ได้ทำอะไรแค่พนักงานและพยาบาลก็มาถามเรื่อยๆ เสร็จเพิ่งมาบอกว่าให้มาคุณหมออีกทีฟังผลวันอื่น เราว่าบริการดีแต่การจัดเวลาและการสื่อสารกับลูกค้าน้อยไปหน่อยเพราะแต่ละที่ก็มาถามเราว่าทำไรต่อ ซึ่งจริงๆพนักงานต้องบอกเรามั้ยนะ

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ เมื่อวาน

user icon

Nungning

บรรยากาศดีมากค่ะ เจ้าหน้าที่บริการดี คุณหมอแนะนำดีมากค่ะ ชอบที่ไม่ยัดเยียดคอร์สต่างๆ ตามใจลูกค้าเอาที่ลูกค้าสะดวก ครั้งหน้าใช้บริการอีกแน่นอนค่ะ ใกล้บ้าน เดินทางสะดวก

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 119 วันที่ผ่านมา

user icon

Ari

เจ้าหน้าที่บริการดีมาก จอดรถสะดวก

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 230 วันที่ผ่านมา

user icon

Ari

ใส่ใจรายละเอียด บริการดีประทับใจค่ะ

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 280 วันที่ผ่านมา

user icon

Daranart

เจ้าหน้าที่ดูแลดีมากๆทุกครั้งเลยค่ะ เจ้าหน้าที่ดูแลดีมากๆทุกครั้งเลยค่ะ เจ้าหน้าที่ดูแลดีมากๆทุกครั้งเลยค่ะ

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 302 วันที่ผ่านมา

user icon

Daranart

เจ้าหน้าที่ของที่คลินิกพูดจาไพเราะตลอดค่ะ มาร์คสบายผิวมากๆค่ะ เจ้าหน้าที่ของที่คลินิกพูดจาไพเราะตลอดค่ะ มาร์คสบายผิวมากๆค่ะ

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 305 วันที่ผ่านมา

user icon

Daranart

สบายผิวมากค่ะเจ้าหน้าที่ดูแลดีมากๆ สบายผิวมากค่ะเจ้าหน้าที่ดูแลดีมากๆ

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 310 วันที่ผ่านมา

user icon

ธัญพิชชา

พนักงานคือดีมากกกก มากแบบ ก ไก่ล้านตัว พี่พนักงานกดสิว ตัวเล็กๆ พูดจาดีมาก กดสิวละเอียดด้วย และที่สำคัญ! ไม่ยัดเยียดคอร์สให้ลูกค้าซื้อ!!! ชอบค่ะ รอบหน้าไปอีกแน่ๆ จะแนะนำคนอื่นๆไปด้วย วาสนาผู้ใดหนออออ วาสนาเราเองค่ะ!

+1

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 314 วันที่ผ่านมา

user icon

Mynt

กดสิวเฉยๆ กดไม่สุด กลับมาเปนสิวอักเสบ2เม็ด

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 318 วันที่ผ่านมา

user icon

Mynt

dee mak kaaaaaaaaaaa

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 318 วันที่ผ่านมา

ร้านค้าแนะนำ

Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) ( )

Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) ( ) มุ่งเน้นในการให้บริการคุณภาพชั้นหนึ่งเพื่อดูแลและให้คำปรึกษาที่ดีที่สุดสำหรับคุณ ทีมงานของเรามีความเชี่ยวชาญในการให้บริการ แพ็คเกจเสริมความงาม ที่ปรับแต่งให้เหมาะกับความต้องการของแต่ละบุคคลในราคาที่คุ้มค่า ที่ Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) ( ) มุ่งเน้นไปที่การให้บริการ สถานที่ และความเป็นมืออาชีพของทีมงาน

Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) ( ) ดีไหม

GoWabi ได้รวบรวมร้านที่มีคุณภาพในด้านของสินค้า การบริการ และสถานที่ อีกทั้งยังรวบรวมรีวิวที่น่าเชื่อถือจากลูกค้าที่ใช้บริการจริงที่ Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) ( ) ให้คุณได้พิจารณาเลือกซื้อบริการกับ Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) ( ) โดย GoWabi คัดสรรบริการในราคาโปรโมชั่นที่ดีที่สุดเพื่อคุณ

โปรโมชั่นสุดพิเศษ จากร้าน Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) ( )

GoWabi ขอนำเสนอบริการ แพ็คเกจเสริมความงาม, มาส์กหน้า, โบท็อกซ์ ที่ Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) ( ) ในราคาสุดพิเศษ พร้อมรับเครดิตเงินคืน จาก GoWabi ไปใช้สำหรับบริการครั้งต่อไป นอกเหนือจากเครดิตเงินคืนและโปรโมชั่นที่คุณจะได้รับ คุณยังสามารถผ่อนบริการต่าง ๆ จาก Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) ( ) ได้อีกด้วย หากบริการนั้นมีราคาสูงกว่า 3,000 บาท มั่นใจได้เลยว่าบนแอปพลิเคชั่น GoWabi คุณจะได้รับราคาโปรโมชั่นที่ดีที่สุดในทุก ๆ ดีล

วิธีการเดินทางไป Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) ( )

สามารถเดินทางได้อย่างสะดวก โดยร้านอยู่ที่ 22/22 Ratchada-Ramintra Road Ramintra, Khan Na Yao, Bangkok 10230 เตรียมพร้อมรับบริการและบริการสุดพิเศษที่ร้าน Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) ( )

ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ (2019) GoWabi ยังคงดำเนินการเก็บรวบรวมและใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของท่านตามวัตถุประสงค์เดิม ดูเพิ่ม
cartcheck ใส่ตะกร้าแล้ว!