คุณช้าไปแล้ว บริการนี้ขายหมดแล้วค่ะ

Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)

22/22 Ratchada-Ramintra Road Ramintra, Khan Na Yao, Bangkok 10230

Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  1 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  1
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  13 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  13
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  11 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  11
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  9 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  9
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  8 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  8
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  7 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  7
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  6 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  6
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  10 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  10
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  12 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  12
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  14 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  14
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  15 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  15
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  17 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  17
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  16 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  16
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  4 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  4
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  5 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  5
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  2 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  2
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  3 Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  3
Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  lkj Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)  lkj

- Praewa

- ศูนย์รวม

- ศูนย์รวม

บางกอก เวลเนส เมดิคัล คลินิก (BWM) เป็นสถานพยาบาลตรวจสุขภาพ ดูแลและฟื้นฟูสุขภาพครบวงจร ที่มีการนำวิทยาการทางการแพทย์ที่เน้นการรักษาแบบองค์รวม (Holistic Medicine) ซึ่งเป็นการรักษาที่มุ่งเน้นไปถึงการหาสาเหตุของความเจ็บป่วยมากกว่าที่จะเป็นเพียงการรักษาตามอาการ ยังช่วยฟื้นฟูร่างกายทุกระบบไปพร้อมๆ กันจนถึงระดับเซลล์ในร่างกาย ซึ่งการฟื้นฟูแนวป้องกัน Anti-Aging กำลังเป็นที่นิยม และเป็นเทรนด์สุขภาพในปัจจุบันของโลก ภายใต้การบริการ การดูแลลูกค้าแบบมาตรฐานระดับสากล โดยมีการคิดค้นพัฒนาทั้งองค์ความรู้ วิทยาการทางการแพทย์ และมาตรฐานการรักษาอย่างต่อเนื่อง พร้อมมีทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ทีมบุคลากรมืออาชีพที่มีประสบการณ์และความชำนาญดูแลอย่างใกล้ชิด บางกอก เวลเนส เมดิคัล คลินิก Bangkok Wellness Medical Center (BWM) นำโดย เป็นสถานพยาบาลตรวจสุขภาพ ดูแลและฟื้นฟูสุขภาพครบวงจร ที่มีการนำวิทยาการทางการแพทย์ที่เน้นการรักษาแบบองค์รวม (Holistic Medicine) ซึ่งเป็นการรักษาที่มุ่งเน้นไปถึงการหาสาเหตุของความเจ็บป่วยมากกว่าที่จะเป็นเพียงการรักษาตามอาการ ยังช่วยฟื้นฟูร่างกายทุกระบบไปพร้อมๆ กันจนถึงระดับเซลล์ในร่างกาย ซึ่งการฟื้นฟูแนวป้องกัน Anti-Aging กำลังเป็นที่นิยม และเป็นเทรนด์สุขภาพในปัจจุบันของโลก ภายใต้การบริการ การดูแลลูกค้าแบบมาตรฐานระดับสากล โดยมีการคิดค้นพัฒนาทั้งองค์ความรู้ วิทยาการทางการแพทย์ และมาตรฐานการรักษาอย่างต่อเนื่อง พร้อมมีทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ทีมบุคลากรมืออาชีพที่มีประสบการณ์และความชำนาญดูแลอย่างใกล้ชิด พร้อมมุ่งหวังจะเป็นศูนย์ฟื้นฟูสุขภาพทางเลือกใหม่สำหรับที่สนใจและใส่ใจในการดูแลสุขภาพอย่างยั่งยืน

เปิดให้บริการทุกวัน เวลา 9.00-18.00น.

 

รายละเอียด:

• ดีลนี้เมื่อซื้อแล้ว จะมีอายุการใช้งาน 2 เดือน นับจากวันที่ซื้อ

• ทุกคูปองและบริการ ไม่สามารถแลกเปลี่ยนเป็นเงินสดได้

• ไม่สามารถใช้ร่วมกับรายการ Promotions ส่งเสริมการขายอื่นได้

• กรุณาแสดงคูปองจากทางอีเมลหรือ GoWabi แอพพลิเคชั่นให้กับพนักงานก่อนเข้าใช้บริการ

• กรุณาจองคิวล่วงหน้า สามารถดูรายละเอียดการติดต่อเพื่อทำการจองนัดหมายได้ที่ “อีเมลยืนยันการจอง Gowabi หรือ บุ๊คกิ้งของฉัน”

เพิ่มเติม
บริการโดดเด่น

การฉีดวิตามินเข้าสู่ร่างกาย

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

• ค่าคอร์สฉีดวิตามินดี Vitamin D Injection 3 ครั้ง

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ฉีดวิตามินดี

• ระยะเวลารับบริการประมาณ 1 ชั่วโมง

• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ

ข้อห้ามสำหรับการฉีดวิตามิน

• สตรีมีครรภ์ หรือกำลังให้นมบุตร

• ไม่ควรฉีดวิตามินในผู้ที่มีภาวะไตล้มเหลว

• ควรหลีกเลี่ยงในผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับหัวใจ ไต และความดันโลหิต

• ควรแจ้งให้แพทย์ทราบหากกำลังรับประทานยา อาหารเสริม มีโรคประจำตัว หรือมีประวัติการแพ้อื่นๆ

สิ่งที่ควรแจ้งให้แพทย์ทราบก่อนรับบริการ

• ยาและอาหารเสริมที่กำลังรับประทานอยู่ รวมถึงโรคประจำตัว และประวัติการแพ้อื่นๆ

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

ค่าตรวจสุขภาพ 24 รายการ โปรแกรม BWM Check Up มีรายการตรวจดังนี้

1.ตรวจความบกพร่องเอนไซม์ (G6PD)

2.ตรวจคัดกรองภาวะโรคไต (Cr)

3.ตรวจคัดกรองโรคตับ (AST-SGOT)

4.ตรวจคัดกรองโรคตับ (ALT-SGPT)

5.ตรวจค่าน้ำตาลสะสมในเลือด

6.ตรวจตะกอนของเม็ดเลือดแดง

7.ตรวจระดับการอักเสบของหลอดเลือด

8.ตรวจภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ

9.ตรวจสารตะกั่วในเลือด

10.ตรวจค่าคอเลสเตอรอลในเลือด

11.ตรวจค่าไตรกลีเซอไรด์

12.ตรวจระดับไขมันชนิดดี (HDL-C)

13.ตรวจระดับไขมันชนิดไม่ดีในเลือด (LDL-C)

ค่าตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย ด้วยเครื่อง EIS 8 รายการ มีรายการตรวจดังนี้

1.ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด

2.ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ

3.ตรวจสแกนระบบขับถ่าย และระบบสืบพันธุ์

4.ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ

5.ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ

6.ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร

7.ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง

8.ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร

• ค่าปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการ (Doctor Consultant)

ค่าฉีดวิตามินดี Vitamin D Injection 1 ครั้ง

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ตรวจสุขภาพ ฉีดวิตามิน

• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-60 นาที

• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ

• ใช้วิธีการเจาะเลือด และตรวจสแกนร่างกายด้วยเทคโนโลยี Electro Interstitial Scan โดยการส่งกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ เข้าสู่ร่างกาย เพื่อวัดความต้านทานของน้ำที่อยู่ระหว่างเซลล์แต่ละอวัยวะ

• ทราบผลการตรวจประมาณ 7-14 วันหลังรับบริการ

• ผู้รับบริการจะต้องเข้ามาพบแพทย์และผู้เชี่ยวชาญ ทั้งหมด 2 ครั้ง

• ครั้งแรก เจาะเลือดที่ปลายนิ้วมือ เพื่อส่งไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการพิเศษ และตรวจสแกนร่างกาย 8 ระบบ ด้วยเครื่อง EIS

• ครั้งที่สอง ฟังการวิเคราะห์ผลเลือดและปรึกษาแพทย์ (ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม)

• หากมีการดามเหล็กในร่างกาย หรือทำบอลลูนหัวใจ จะไม่สามารถตรวจร่างกายในส่วนของการสแกนร่างกายได้

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

• ค่าฉีดวิตามินดี Vitamin D Injection 1 ครั้ง

• ค่าให้วิตามินทางหลอดเลือดแบบ Drip สูตร Immune Booster 1 ครั้ง

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ฉีดวิตามินดี และทำ IV Drip สูตร Immune Booster

• ระยะเวลารับบริการประมาณ 1 ชั่วโมง

• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ

• โปรแกรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ด้วยวิตามินรวมที่มีความเข้มข้นสูง เเละเเร่ธาตุที่หลากหลาย สามารถช่วยกระตุ้นเม็ดเลือดขาวที่ทำหน้าที่สำคัญในระบบภูมิคุ้มกันให้แข็งเเรง พร้อมที่จะต่อสู้กับเชื้อโรคเเละไวรัสต่างๆที่เข้ามาสู่ร่างกาย ชะลอความเสื่อมลองเซลล์ ลดอาการภูมิแพ้ช่วยลดความเครียดและผิวพรรณสดใส

ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ

ข้อห้ามสำหรับการฉีดวิตามิน

• สตรีมีครรภ์ หรือกำลังให้นมบุตร

• ไม่ควรฉีดวิตามินในผู้ที่มีภาวะไตล้มเหลว

• ควรหลีกเลี่ยงในผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับหัวใจ ไต และความดันโลหิต

• ควรแจ้งให้แพทย์ทราบหากกำลังรับประทานยา อาหารเสริม มีโรคประจำตัว หรือมีประวัติการแพ้อื่นๆ

สิ่งที่ควรแจ้งให้แพทย์ทราบก่อนรับบริการ

• ยาและอาหารเสริมที่กำลังรับประทานอยู่ รวมถึงโรคประจำตัว และประวัติการแพ้อื่นๆ

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

- ค่าฉีดวิตามินดี Vitamin D Injection 1 ครั้ง

- ค่าตรวจหาปริมาณภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส COVID-19 IgG Antibody Quantitative ด้วยวิธี CMIA สำหรับผู้ที่เคยได้รับเชื้อหรือฉีดวัคซีนครบ 2 เข็มแล้ว 1 ท่าน 1 ครั้ง

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการฉีดวิตามินดี

การฉีดวิตามิน⠀เป็นการให้วิตามินและแร่ธาตุที่จำเป็นต่อร่างกายโดยการฉีดเข้ากระแสเลือดโดยตรง ซึ่งมีข้อดีคือทำให้ปริมาณวิตามิน เกลือแร่ หรือสารอื่นๆ ที่ได้รับครบถ้วนตามต้องการ ทั้งยังสามารถเลือกสูตรของวิตามินให้เหมาะกับประโยชน์ที่ต้องการและความจำเป็นเฉพาะกับแต่ละคนอีกด้วย

ประโยชน์ของการฉีดวิตามินมีอะไรบ้าง?

สูตรของวิตามินที่ใช้อาจเน้นเสริมในเรื่องต่างๆ แตกต่างกันไป เช่น 

• เสริมระบบภูมิคุ้มกัน

• ช่วยต้านอนุมูลอิสระ

• ลดความเครียดที่เกิดขึ้นในร่างกาย

• ฟื้นฟูสุขภาพ

• เสริมให้ผิวพรรณดูเปล่งปลั่ง

• บรรเทาอาการหรือช่วยเสริมการรักษาโรคบางประเภทได้

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

• ค่าฉีดวิตามินดี Vitamin D Injection 1 ครั้ง

• ค่าให้วิตามินทางหลอดเลือดแบบ Drip สูตร Immune Booster 1 ครั้ง

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ฉีดวิตามินดี และทำ IV Drip สูตร Immune Booster

• ระยะเวลารับบริการประมาณ 1 ชั่วโมง

• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ

• โปรแกรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ด้วยวิตามินรวมที่มีความเข้มข้นสูง เเละเเร่ธาตุที่หลากหลาย สามารถช่วยกระตุ้นเม็ดเลือดขาวที่ทำหน้าที่สำคัญในระบบภูมิคุ้มกันให้แข็งเเรง พร้อมที่จะต่อสู้กับเชื้อโรคเเละไวรัสต่างๆที่เข้ามาสู่ร่างกาย ชะลอความเสื่อมลองเซลล์ ลดอาการภูมิแพ้ช่วยลดความเครียดและผิวพรรณสดใส

ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ

ข้อห้ามสำหรับการฉีดวิตามิน

• สตรีมีครรภ์ หรือกำลังให้นมบุตร

• ไม่ควรฉีดวิตามินในผู้ที่มีภาวะไตล้มเหลว

• ควรหลีกเลี่ยงในผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับหัวใจ ไต และความดันโลหิต

• ควรแจ้งให้แพทย์ทราบหากกำลังรับประทานยา อาหารเสริม มีโรคประจำตัว หรือมีประวัติการแพ้อื่นๆ

สิ่งที่ควรแจ้งให้แพทย์ทราบก่อนรับบริการ

• ยาและอาหารเสริมที่กำลังรับประทานอยู่ รวมถึงโรคประจำตัว และประวัติการแพ้อื่นๆ

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ฉีดวิตามินดี และทำ IV Drip สูตร Immune Booster

• ระยะเวลารับบริการประมาณ 1 ชั่วโมง

• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ

• โปรแกรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ด้วยวิตามินรวมที่มีความเข้มข้นสูง เเละเเร่ธาตุที่หลากหลาย สามารถช่วยกระตุ้นเม็ดเลือดขาวที่ทำหน้าที่สำคัญในระบบภูมิคุ้มกันให้แข็งเเรง พร้อมที่จะต่อสู้กับเชื้อโรคเเละไวรัสต่างๆที่เข้ามาสู่ร่างกาย ชะลอความเสื่อมลองเซลล์ ลดอาการภูมิแพ้ช่วยลดความเครียดและผิวพรรณสดใส

ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ

ข้อห้ามสำหรับการฉีดวิตามิน

• สตรีมีครรภ์ หรือกำลังให้นมบุตร

• ไม่ควรฉีดวิตามินในผู้ที่มีภาวะไตล้มเหลว

• ควรหลีกเลี่ยงในผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับหัวใจ ไต และความดันโลหิต

• ควรแจ้งให้แพทย์ทราบหากกำลังรับประทานยา อาหารเสริม มีโรคประจำตัว หรือมีประวัติการแพ้อื่นๆ

สิ่งที่ควรแจ้งให้แพทย์ทราบก่อนรับบริการ

• ยาและอาหารเสริมที่กำลังรับประทานอยู่ รวมถึงโรคประจำตัว และประวัติการแพ้อื่นๆ

ข้อควรรู้เกี่ยวกับการให้วิตามินทางหลอดเลือดแบบ IV Drip Vitamin 
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 60-90 นาที
• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ
• วิตามินแต่ละสูตร สามารถทำได้ 1-2 ครั้งต่อสัปดาห์หรือขึ้นอยู่กับแพทย์ผู้ชำนาญการแนะนำ
• ดูแลและควบคุมโดยแพทย์และพยาบาลผู้ชำนาญการในทุกขั้นตอน
• การดริปวิตามินอาจจำเป็นในกรณีที่ขาดวิตามินหรือแร่ธาตุบางชนิดเท่านั้น ควรศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม และเลือกสถานพยาบาลที่ได้มาตรฐานเพื่อความปลอดภัย

IV Drip Vitamin สูตร Health Booster
เสริมระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ช่วยต่อสู้การติดเชื้อไวรัส และแบคทีเรียหลายชนิด
เพิ่มสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยให้รู้สึกสดชื่น
มีส่วนช่วยในการสร้างคอลลาเจน และบำรุงผิวให้กระจ่างใส

ข้อจำกัด
• ผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี
• สตรีมีครรภ์
• ผู้ป่วยไตวาย หรือภาวะไตบกพร่อง
• ผู้ป่วยโรคพร่องเอนไซม์

การเตรียมตัวก่อนรับบริการให้วิตามินทางหลอดเลือดแบบ IV Drip
• ควรนอนพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6 ชั่วโมง เพื่อปรับสมดุลร่างกายก่อนรับวิตามิน
• ไม่ต้องงดอาหารและน้ำ (ยกเว้นหากเข้ารับบริการครั้งแรกควรตรวจสุขภาพหรือพบแพทย์เพื่อปรึกษาก่อนทำการดริปวิตามิน ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม)
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ
• หากมีโรคประจำตัวหรือประวัติสุขภาพอื่นๆ กรุณานำผลการตรวจหรือรายงานจากแพทย์มาด้วยเพื่อประกอบการวินิจฉัย
• ดื่มน้ำมากๆ ช่วยให้หลอดเลือดขยายตัว ช่วยให้วิตามินไหลเวียนไปได้อย่างรวดเร็ว
• ควรสวมเสื้อผ้าที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน

การดริปวิตามิน หรือ IV Drip?
• เป็นการให้วิตามินที่เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ โดยผ่านทางสายน้ำเกลือเข้าสู่ทางหลอดเลือดดำ ซึ่งจะช่วยชะลอการเกิดริ้วรอยก่อนวัย ต้านความเสื่อมของผิวที่เกิดจากอายุที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้ผิวดูอ่อนเยาว์มีความเปล่งปลั่ง อีกทั้งยังมีประโยชน์ต่อร่างกาย ช่วยลดอาการเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ ลดความเครียด เพิ่มการไหลเวียนของหลอดเลือด ช่วยรักษาระดับวิตามินในร่างกายให้สมดุลพร้อมกระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ควรดริป Vitamin บ่อยแค่ไหน? ถึงจะเห็นผล?
•  การ Drip Vitamin ควรทำทุกๆ 1-2 สัปดาห์ ซึ่งจะเห็นผลในเรื่องของผิวที่กระจ่างใส หากสำหรับอาการเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย จะเห็นผลได้ตั้งแต่ครั้งแรก โดยหลังจากการเข้ารับบริการ Drip วิตามินควรดื่มน้ำเปล่าอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความพึงพอใจของท่านและอยู่ในความดูแล พร้อมปรึกษาโดยแพทย์ผู้มีประสบการณ์ประจำ BWM Saha Clinic

การดริปวิตามิน VS การได้รับวิตามินจากอาหาร?
• โดยทั่วไปร่างกายสามารถได้รับวิตามินและแร่ธาตุในปริมาณที่เพียงพอจากอาหารที่รับประทาน แต่ในผู้ที่มีนิสัยเลือกกินเฉพาะอาหารบางชนิด รับประทานอาหารไม่หลากหลาย ก็อาจทำให้ได้รับวิตามินและแร่ธาตุไม่ครบถ้วน
• การฉีดวิตามินหรือรับวิตามินทางหลอดเลือดเป็นทางเลือกหนึ่งที่สามารถช่วยแก้ปัญหานี้ โดยช่วยให้เลือกวิตามินและแร่ธาตุที่ต้องการได้อย่างเฉพาะเจาะจง

ตรวจหาปริมาณแอนติบอดีต่อเชื้อโควิด-19

โปรแกรมตรวจระดับภูมิคุ้มกันโควิด-19 เหมาะสำหรับผู้ที่ฉีดวัคซีนครบ 2 เข็มแล้ว 14 วัน หรือสามารถเช็คหลังฉีดวัคซีนหลัง 14 วันได้ เพื่อประเมินระดับภูมิคุ้มกันกับการวางแผนใช้ชีวิตประจำวัน เพื่อการมีสุขภาพที่ดีที่ Bangkok Wellness Medical Clinic

*ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็คเกจ ตรวจภูมิโควิด CMIA

- เป็นการตรวจหาแอนติบอดีจำเพาะต่อแอนติเจน ส่วนหนาม (Spike) ของไวรัส SAR-CoV-2 ในเลือด ใช้บ่งชี้การตอบสนองต่อวัคซีน COVID-19 หรือผู้ที่เคยได้รับเชื้อ COVID-19

- ระยะเวลารับบริการประมาณ 5-10 นาที ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้รับบริการ

- ควรตรวจหาภูมิคุ้มกันหลังรักษาหายและกักตัวครบ 14 วัน โดยไม่มีอาการป่วยแล้ว

- ควรตรวจหาภูมิคุ้มกันประมาณ 4 สัปดาห์หลังฉีดวัคซีนครบ 2 เข็มแล้ว

- ระยะเวลารอผลตรวจประมาณ 1-2 วันทำการ โดยจะแจ้งผลให้ทราบ ลูกค้าสามารถมารับที่คลินิก หรือส่งผลทางอีเมล์/ไปรษณีย์

- ใช้หลักการทดสอบแบบ Chemiluminescent Microparticle Immunoassay (CMIA) แปลผลเป็นค่าตัวเลขหน่วย AU/mL

- การตรวจนี้เป็นการตรวจเพื่อให้ทราบระดับของภูมิต้านทานที่เกิดขึ้น แต่ไม่ยืนยันว่าจะป้องกันการติดเชื้อได้ 100% การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการติดเชื้อด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การสวมหน้ากากอนามัย ล้างมือ และรักษาระยะห่าง ยังคงต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ในช่วงที่ยังมีการระบาดของโรค COVID-19

- หากสงสัยว่ากำลังติดเชื้อให้ใช้วิธีตรวจหาเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ด้วยวิธีมาตรฐาน หรือหากมีข้อสงสัยอาจพิจารณาตรวจซ้ำ

- การให้ผลบวกลวง (False Positive) อาจเกิดขึ้นได้จากการเกิดปฏิกิริยาข้ามกลุ่ม (Cross-reactivity) กับภูมิคุ้มกันอื่นๆ ในร่างกายที่มีอยู่ก่อนแล้ว

- ปัจจุบันยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัดว่าการตรวจพบภูมิต้านทานต่อเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 จะสามารถป้องการติดเชื้อซ้ำได้หรือไม่

- การตรวจนี้ไม่สามารถบอกประสิทธิภาพของวัคซีนแต่ละตัวได้

- ชาวต่างชาติสามารถรับบริการได้ โดยต้องมีพาสปอร์ต

*การเตรียมตัวก่อนรับบริการ

- ไม่ต้องงดเครื่องดื่มและอาหารก่อนตรวจ

*ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ

- การตรวจภูมิโควิด เป็นการตรวจระดับภูมิคุ้มกันที่ร่างกายสร้างขึ้นหลังได้รับวัคซีน หรือหลังได้รับเชื้อเท่านั้น ไม่สามารถบ่งบอกว่าสามารถป้องกันการติดเชื้อได้หรือไม่

ดังนั้นแม้ผลจะออกมาว่ามีภูมิคุ้มกันแล้ว ก็ยังควรสวมหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ หลีกเลี่ยงที่ชุมชน เพื่อป้องกันตัวเองจากโรค COVID-19 อยู่

*ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจภูมิโควิด CMIA

- การตรวจภูมิโควิด คือ การตรวจหาภูมิคุ้มกันหรือการตรวจแอนติบอดี้ ว่าร่างกายของคุณมีความสามารถในการสร้างภูมิต้านทานต่อเชื้อไวรัสขนาดไหน

- การตรวจภูมิโควิดแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ การตรวจหาระดับภูมิคุ้มกัน (Binding Antibody) กับ การตรวจความสามารถของภูมิคุ้มกันในการยับยั้งไวรัส (Neutralizing Antibody)

วิธีการตรวจภูมิโควิดแบบ Binding Antibody คืออะไร?

- การตรวจแบบ Binding Antibody คือการตรวจแอนติบอดี้ที่จับกับโปรตีนแอนติเจนของเชื้อไวรัสที่ร่างกายสร้างขึ้นหลังจากฉีดวัคซีนโควิดหรือหลังจากติดเชื้อ 

- การตรวจแบบ CMIA คือการตรวจหาภูมิคุ้มกันระยะยาว (IgG Antibody) ด้วยการวัดผลเป็นหน่วย AU/mL

- หากค่า IgG มากกว่าหรือเท่ากับ 50 AU/mL คือร่างกายสร้างภูมิต้านทานไวรัสแล้ว

- หากค่า IgG น้อยกว่า 50 AU/mL คือร่างกายยังไม่มีภูมิต้านทานไวรัส

*ข้อดีของการตรวจแบบ CMIA คือ เป็นการตรวจที่ได้มาตรฐาน WHO ค่อนข้างแม่นยำ รู้ผลเร็ว และราคาไม่สูง

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็คเกจ ตรวจภูมิโควิด CMIA

เป็นการตรวจหาแอนติบอดีจำเพาะต่อแอนติเจน ส่วนหนาม (Spike) ของไวรัส SAR-CoV-2 ในเลือด ใช้บ่งชี้การตอบสนองต่อวัคซีน COVID-19 หรือผู้ที่เคยได้รับเชื้อ COVID-19

ระยะเวลารับบริการประมาณ 5-10 นาที ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้รับบริการ

ควรตรวจหาภูมิคุ้มกันหลังรักษาหายและกักตัวครบ 14 วัน โดยไม่มีอาการป่วยแล้ว

ควรตรวจหาภูมิคุ้มกันประมาณ 4 สัปดาห์หลังฉีดวัคซีนครบ 2 เข็มแล้ว

ระยะเวลารอผลตรวจประมาณ 1-2 วันทำการ โดยจะแจ้งผลให้ทราบ ลูกค้าสามารถมารับที่คลินิก หรือส่งผลทางอีเมล์/ไปรษณีย์

ใช้หลักการทดสอบแบบ Chemiluminescent Microparticle Immunoassay (CMIA) แปลผลเป็นค่าตัวเลขหน่วย AU/mL

การตรวจนี้เป็นการตรวจเพื่อให้ทราบระดับของภูมิต้านทานที่เกิดขึ้น แต่ไม่ยืนยันว่าจะป้องกันการติดเชื้อได้ 100% การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการติดเชื้อด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การสวมหน้ากากอนามัย ล้างมือ และรักษาระยะห่าง ยังคงต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ในช่วงที่ยังมีการระบาดของโรค COVID-19

หากสงสัยว่ากำลังติดเชื้อให้ใช้วิธีตรวจหาเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ด้วยวิธีมาตรฐาน หรือหากมีข้อสงสัยอาจพิจารณาตรวจซ้ำ

การให้ผลบวกลวง (False Positive) อาจเกิดขึ้นได้จากการเกิดปฏิกิริยาข้ามกลุ่ม (Cross-reactivity) กับภูมิคุ้มกันอื่นๆ ในร่างกายที่มีอยู่ก่อนแล้ว

ปัจจุบันยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัดว่าการตรวจพบภูมิต้านทานต่อเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 จะสามารถป้องการติดเชื้อซ้ำได้หรือไม่

การตรวจนี้ไม่สามารถบอกประสิทธิภาพของวัคซีนแต่ละตัวได้

ชาวต่างชาติสามารถรับบริการได้ โดยต้องมีพาสปอร์ต

เมโส

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

ค่ารักษาข้อเข่า ด้วยการฉีด P.RP เกล็ดเลือดเข้มข้น 1 ครั้ง

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็คเกจ ฉีด P.RP ข้อเข่า

• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-40 นาที

• แพทย์จะให้คำปรึกษาและคำแนะนำก่อนเริ่มกระบวนการฉีด P.RP

• ผลลัพธ์ที่ได้แตกต่างกันไปตามแต่ละบุคคล

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ

• นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ 6-8 ชั่วโมง

• ควรศึกษาข้อมูลและปรึกษาแพทย์ก่อนทำ

• งดรับประทานยาหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารบางชนิด 1 สัปดาห์ก่อนทำ เช่น แอสไพริน ไอบูโพรเฟน ไดโคลฟีแนค พอนสแตน วิตามินอี น้ำมันปลา ใบแปะก๊วย โสม St. John's wort น้ำมันกระเทียม เพราะมีผลต่อยาต้านการแข็งตัวของเลือด (ควรปรึกษาแพทย์ที่รักษาก่อนหยุดยา)

• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างน้อย 2-3 วัน

• งดยา NSAIDs ก่อนและหลังการฉีด P.RP เป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์

• ดื่มน้ำมากๆ ตั้งแต่ก่อนวันฉีด 1 วัน

• ถ้ามีอาการป่วยอยู่ ควรรักษาให้หายก่อน เพราะอาจมีเชื้อในกระแสเลือด

ข้อห้ามสำหรับการฉีด P.RP

• การฉีด P.RP จะต้องเก็บเลือดของผู้เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมเองมาปั่นแยกเกล็ดเลือด ดังนั้นผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับเกล็ดเลือดจึงไม่สามารถเข้ารับการรักษาด้วยวิธีนี้ได้ เช่น

• ผู้ป่วยโรคโลหิตจาง

• ผู้ป่วยที่มีเกล็ดเลือดต่ำหรือเกล็ดเลือดทำงานผิดปกติ

• ผู้ป่วยโรคมะเร็ง โดยเฉพาะมะเร็งเม็ดเลือดขาวและมะเร็งกระดูก

• ผู้ป่วยที่รับประทานยาต้านเกล็ดเลือดหรือยาละลายลิ่มเลือด

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการฉีด P.RP ข้อเข่า

การฉีดเกล็ดเลือดสกัดเข้มข้น หรือการฉีดพีอาร์พี (P.latelet Rich P.lasma: P.RP)⠀เป็นหนึ่งในการแพทย์ทางเลือก ใช้รักษาโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้ที่มีอาการระดับปานกลาง มีความปลอดภัยมากและมีโอกาสเกิดอาการแพ้น้อย เพราะใช้เกล็ดเลือดที่สกัดจากเลือดของตัวเอง

ในเกล็ดเลือดจะมีโกรทแฟคเตอร์ (Growth factor) หลายชนิด โปรตีน และเซลล์จากกระแสเลือด ซึ่งช่วยในการซ่อมแซมหลอดเลือด กระดูก และกล้ามเนื้อ กระตุ้นให้เกิดการสร้างเซลล์และคอลลาเจน อีกทั้งยังมีฤทธิ์ต้านการอักเสบ ช่วยบรรเทาอาการปวดในข้อได้เป็นอย่างดี

แพทย์มักแนะนำให้ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมเข้ารับการฉีด P.RP หลังจากที่การรักษาด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรับประทานยาแก้ปวดไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร

ในช่วงที่รับการรักษาด้วยวิธีนี้ผู้ป่วยไม่ควรใช้ยาชา ยาต้านการอักเสบ หรือยาสเตียรอยด์ เพราะตัวยาจะไปลดประสิทธิภาพการทำงานของเกล็ดเลือด

ตรวจสุขภาพทั่วไป

ใช้วิธีการเจาะเลือด และตรวจสแกนร่างกายด้วยเทคโนโลยี Electro Interstitial Scan โดยการส่งกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ เข้าสู่ร่างกาย เพื่อวัดความต้านทานของน้ำที่อยู่ระหว่างเซลล์แต่ละอวัยวะ

ตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย ด้วยเครื่อง EIS 8 รายการ มีรายการตรวจดังนี้

1.Cardiovascular functions /  ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด

2.Endocrine functions / ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ

3.Urogenital and renal functions /  ตรวจสแกนระบบขับถ่าย และระบบสืบพันธุ์

4.Neuromuscular functions /  ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ

5.Respiratory functions /  ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ

6.Digestive functions /  ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร

7.Neurologic functions /  ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง

8.General metabolic functions /  ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร

- (Doctor Consultant)    ปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการ

- วิตามินทางหลอดเลือด แบบ Drip สูตรกระตุ้นภูมิคุ้มกัน 1 ครั้ง

Laboratory Test (การวิเคราะห์เลือดในห้องปฏิบัติการ) 14 รายการ มีรายการตรวจดังนี้ 

1. CBC (ตรวจหาความสมบูรณ์ ของเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด)

2. G-6-PD (ตรวจหาเอนไซม์ปกป้องเม็ดเลือดแดงไม่ให้แตกง่าย)

3. Creatinine – eGFR (ตรวจหาค่าการทำงานของไต)

4. AST (SGOT) (ตรวจหาค่าเอนไซม์ของตับ)

5. ALT (SGPT) (ตรวจหาเอนไซม์ของ ตับ)

6. Hemoglobin A1C (HbA1c) (ตรวจวัดระดับน้ำตามสะสมในเลือด)

7. Total Cholesterol (ตรวจหาค่าไขมันคอเลสเตอรอล)

8. Triglyceride (ตรวจหาค่าไขมันไตรกลีเซอไรด์)

9.  HDL - Cholesterol (ตรวจหาค่า ไขมันดี)

10. LDL - Cholesterol (ตรวจหาค่า ไขมันเลว)

11. ESR (ตรวจหาค่าการอักเสบของร่างกายโดยรวม ไม่เฉพาะเจาะจง)

12. CRP (ตรวจหาค่าการอักเสบของร่างกาย)

13. Homocysteine (ตรวจหาค่าการอักเสบของเลือดที่ก่อให้เกิด โรคความดันสูง โรคหัวใจ อัมพฤกษ์ อัมพาต)

14. Lead (pd) (ตรวจหาค่าตะกั่วในเลือด)

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

ค่าตรวจร่างกาย 24 รายการ มีรายการตรวจดังนี้

1. ตรวจความบกพร่องเอนไซม์ (G6PD)

2. ตรวจคัดกรองภาวะโรคไต (Cr)

3. ตรวจคัดกรองโรคตับ (AST-SGOT)

4. ตรวจคัดกรองโรคตับ (ALT-SGPT)

5. ตรวจค่าน้ำตาลสะสมในเลือด

6. ตรวจตะกอนของเม็ดเลือดแดง

7. ตรวจระดับการอักเสบของหลอดเลือด

8. ตรวจภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ

9. ตรวจสารตะกั่วในเลือด

10. ตรวจค่าคอเลสเตอรอลในเลือด

11. ตรวจค่าไตรกลีเซอไรด์

12. ตรวจระดับไขมันชนิดดี (HDL-C)

13. ตรวจระดับไขมันชนิดไม่ดีในเลือด (LDL-C)

14. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด

- ค่าตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย ด้วยเครื่อง EIS 8 รายการ มีรายการตรวจดังนี้

1. ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด

2. ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ

3. ตรวจสแกนระบบขับถ่าย และระบบสืบพันธุ์

4. ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ

5. ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ

6. ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร

7. ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง

8. ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร

ค่าตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง (Live Blood Analysis)

ค่าปรึกษาแพทย์ (Doctor Consultant)

ค่าตรวจหาปริมาณภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส COVID-19 IgG Antibody Quantitative ด้วยวิธี CMIA สำหรับผู้ที่เคยได้รับเชื้อหรือฉีดวัคซีนครบ 2 เข็มแล้ว 1 ท่าน 1 ครั้ง

โปรแกรมตรวจสุขภาพ 44 รายการ โปรแกรม Basic สำหรับผู้ที่อายุ 15 ปีขึ้นไป มีรายการตรวจดังนี้
1. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) 15 รายการ
2. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (Fasting Blood Sugar)
3. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของไต (BUN)
4. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของไต (Creatinine)
5. ตรวจประเมินอัตราการกรองของไต (eGFR)
6. ตรวจโรคเก๊าท์ (Uric acid)
7. ตรวจไขมันรวม (Total Cholesterol)
8. ตรวจไขมันดี (HDL)
9. ตรวจไขมันเลว (LDL)
10. ตรวจไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride)
11. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ AST (SGOT)
12. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ ALT (SGPT)
13. ตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิ โปรโตซัว (Stool Examination)
14. ตรวจอุจจาระประเมินความเสี่ยงมะเร็งลำไส้ใหญ่ (Stool Occult Blood)
15. ตรวจปัสสาวะ (Urine examination) 17 รายการ

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ตรวจสุขภาพ
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-45 นาที ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ
• ระยะเวลารอผลประมาณ 5-7 วัน ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• การฟังผล แนะนำให้ฟังผลกับแพทย์ กรณีไม่สะดวกพบแพทย์สามารถส่งผลทางอีเมลได้
• หากได้ผลตรวจแล้วต้องการปรึกษาแพทย์ สามารถแจ้งเจ้าหน้าที่ได้ เจ้าหน้าที่จะทำนัดพบแพทย์ให้ในวันที่มารับบริการ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม (แพทย์ผู้ตรวจมีเฉพาะแพทย์หญิงเท่านั้น)
• ชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้
• สามารถออกใบรับรองแพทย์ได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ในวันพบแพทย์โปรดแจ้งเจ้าหน้าที่ล่วงหน้า

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• งดเครื่องดื่มและอาหารอย่างน้อย 8-9 ชั่วโมงก่อนเข้ารับบริการ
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด ก่อนตรวจสุขภาพอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
• นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ 6-8 ชั่วโมง
• ควรสวมเสื้อผ้าหลวมๆ สบายตัว เพื่อความสะดวกในการตรวจ ควรเป็นเสื้อผ้าแบบชุดคนละท่อน และไม่สวมเสื้อชั้นในแบบเต็มตัว
• สำหรับผู้หญิง หากกำลังตั้งครรภ์ หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์ ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบก่อนตรวจ

โปรแกรมตรวจสุขภาพ 48 รายการ โปรแกรม Standard สำหรับผู้ที่อายุ 15 ปีขึ้นไป มีรายการตรวจดังนี้
1. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) 15 รายการ
2. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (Fasting Blood Sugar)
3. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของไต (BUN)
4. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของไต (Creatinine)
5. ตรวจประเมินอัตราการกรองของไต (eGFR)
6. ตรวจโรคเก๊าท์ (Uric acid)
7. ตรวจไขมันรวม (Total Cholesterol)
8. ตรวจไขมันดี (HDL)
9. ตรวจไขมันเลว (LDL)
10. ตรวจไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride)
11. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ AST (SGOT)
12. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ ALT (SGPT)
13. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (ALP)
14. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของต่อมไทรอยด์ (TSH)
15. ตรวจสารบ่งชี้โรคมะเร็งตับ (AFP)
16. ตรวจสารบ่งชี้โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก (PSA) สำหรับชายเท่านั้น หรือ ตรวจหาสารบ่งชี้โรคมะเร็งรังไข่ (CA125) สำหรับหญิงเท่านั้น
17. ตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิ โปรโตซัว (Stool Examination)
18. ตรวจอุจจาระประเมินความเสี่ยงมะเร็งลำไส้ใหญ่ (Stool Occult Blood)
19. ตรวจปัสสาวะ (Urine examination 17 รายการ)

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ตรวจสุขภาพ
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-45 นาที ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ
• ระยะเวลารอผลประมาณ 5-7 วัน ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• การฟังผล แนะนำให้ฟังผลกับแพทย์ กรณีไม่สะดวกพบแพทย์สามารถส่งผลทางอีเมลได้
• หากได้ผลตรวจแล้วต้องการปรึกษาแพทย์ สามารถแจ้งเจ้าหน้าที่ได้ เจ้าหน้าที่จะทำนัดพบแพทย์ให้ในวันที่มารับบริการ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม (แพทย์ผู้ตรวจมีเฉพาะแพทย์หญิงเท่านั้น)
• ชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้
• สามารถออกใบรับรองแพทย์ได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ในวันพบแพทย์โปรดแจ้งเจ้าหน้าที่ล่วงหน้า

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• งดเครื่องดื่มและอาหารอย่างน้อย 8-9 ชั่วโมงก่อนเข้ารับบริการ
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด ก่อนตรวจสุขภาพอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
• นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ 6-8 ชั่วโมง
• ควรสวมเสื้อผ้าหลวมๆ สบายตัว เพื่อความสะดวกในการตรวจ ควรเป็นเสื้อผ้าแบบชุดคนละท่อน และไม่สวมเสื้อชั้นในแบบเต็มตัว
• สำหรับผู้หญิง หากกำลังตั้งครรภ์ หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์ ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบก่อนตรวจ

โปรแกรมตรวจสุขภาพ 48 รายการ โปรแกรม Standard สำหรับผู้ที่อายุ 15 ปีขึ้นไป มีรายการตรวจดังนี้
1. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) 15 รายการ
2. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (Fasting Blood Sugar)
3. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของไต (BUN)
4. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของไต (Creatinine)
5. ตรวจประเมินอัตราการกรองของไต (eGFR)
6. ตรวจโรคเก๊าท์ (Uric acid)
7. ตรวจไขมันรวม (Total Cholesterol)
8. ตรวจไขมันดี (HDL)
9. ตรวจไขมันเลว (LDL)
10. ตรวจไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride)
11. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ AST (SGOT)
12. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ ALT (SGPT)
13. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (ALP)
14. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของต่อมไทรอยด์ (TSH)
15. ตรวจสารบ่งชี้โรคมะเร็งตับ (AFP)
16. ตรวจสารบ่งชี้โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก (PSA) สำหรับชายเท่านั้น หรือ ตรวจหาสารบ่งชี้โรคมะเร็งรังไข่ (CA125) สำหรับหญิงเท่านั้น
17. ตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิ โปรโตซัว (Stool Examination)
18. ตรวจอุจจาระประเมินความเสี่ยงมะเร็งลำไส้ใหญ่ (Stool Occult Blood)
19. ตรวจปัสสาวะ (Urine examination 17 รายการ)

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ตรวจสุขภาพ
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-45 นาที ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ
• ระยะเวลารอผลประมาณ 5-7 วัน ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• การฟังผล แนะนำให้ฟังผลกับแพทย์ กรณีไม่สะดวกพบแพทย์สามารถส่งผลทางอีเมลได้
• หากได้ผลตรวจแล้วต้องการปรึกษาแพทย์ สามารถแจ้งเจ้าหน้าที่ได้ เจ้าหน้าที่จะทำนัดพบแพทย์ให้ในวันที่มารับบริการ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม (แพทย์ผู้ตรวจมีเฉพาะแพทย์หญิงเท่านั้น)
• ชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้
• สามารถออกใบรับรองแพทย์ได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ในวันพบแพทย์โปรดแจ้งเจ้าหน้าที่ล่วงหน้า

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• งดเครื่องดื่มและอาหารอย่างน้อย 8-9 ชั่วโมงก่อนเข้ารับบริการ
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด ก่อนตรวจสุขภาพอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
• นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ 6-8 ชั่วโมง
• ควรสวมเสื้อผ้าหลวมๆ สบายตัว เพื่อความสะดวกในการตรวจ ควรเป็นเสื้อผ้าแบบชุดคนละท่อน และไม่สวมเสื้อชั้นในแบบเต็มตัว
• สำหรับผู้หญิง หากกำลังตั้งครรภ์ หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์ ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบก่อนตรวจ

โปรแกรมตรวจสุขภาพ 59 รายการ โปรแกรม Advance สำหรับผู้ที่อายุ 15 ปีขึ้นไป มีรายการตรวจดังนี้
1. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) 15 รายการ
2. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (Fasting Blood Sugar)
3. ตรวจประเมินความเสี่ยงและติดตามการรักษาโรคเบาหวาน (HbA1C)
4. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของไต (BUN)
5. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของไต (Creatinine)
6. ตรวจประเมินอัตราการกรองของไต (eGFR)
7. ตรวจโรคเก๊าท์ (Uric acid)
8. ตรวจไขมันรวม (Total Cholesterol)
9. ตรวจไขมันดี (HDL)
10. ตรวจไขมันเลว (LDL)
11. ตรวจไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride)
12. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ AST (SGOT)
13. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ ALT (SGPT)
14. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (ALP)
15. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (Total Protein)
16. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (Albumin)
17. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (Globulin)
18. ตรวจการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (HBsAg)
19. ตรวจภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบบี (HBsAb)
20. ตรวจการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี (HCVAb)
21. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของต่อมไทรอยด์ (TSH)
22. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของต่อมไทรอยด์ (FT4)
23. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของต่อมไทรอยด์ (FT3)
24. ตรวจสารบ่งชี้โรคมะเร็งลำไส้ (CEA)
25. ตรวจสารบ่งชี้โรคมะเร็งตับ (AFP)
26. ตรวจหาสารบ่งชี้โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก (PSA) สำหรับชาย หรือ ตรวจหาสารบ่งชี้โรคมะเร็งรังไข่ (CA125) สำหรับหญิง
27. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร (CA 19-9)
28. ตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิ โปรโตซัว (Stool Examination)
29. ตรวจอุจจาระประเมินความเสี่ยงมะเร็งลำไส้ใหญ่ (Stool Occult Blood)
30. ตรวจปัสสาวะ (Urine examination) 17 รายการ

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ตรวจสุขภาพ
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-45 นาที ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ
• ระยะเวลารอผลประมาณ 5-7 วัน ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• การฟังผล แนะนำให้ฟังผลกับแพทย์ กรณีไม่สะดวกพบแพทย์สามารถส่งผลทางอีเมลได้
• หากได้ผลตรวจแล้วต้องการปรึกษาแพทย์ สามารถแจ้งเจ้าหน้าที่ได้ เจ้าหน้าที่จะทำนัดพบแพทย์ให้ในวันที่มารับบริการ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม (แพทย์ผู้ตรวจมีเฉพาะแพทย์หญิงเท่านั้น)
• ชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้
• สามารถออกใบรับรองแพทย์ได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ในวันพบแพทย์โปรดแจ้งเจ้าหน้าที่ล่วงหน้า

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• งดเครื่องดื่มและอาหารอย่างน้อย 8-9 ชั่วโมงก่อนเข้ารับบริการ
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด ก่อนตรวจสุขภาพอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
• นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ 6-8 ชั่วโมง
• ควรสวมเสื้อผ้าหลวมๆ สบายตัว เพื่อความสะดวกในการตรวจ ควรเป็นเสื้อผ้าแบบชุดคนละท่อน และไม่สวมเสื้อชั้นในแบบเต็มตัว
• สำหรับผู้หญิง หากกำลังตั้งครรภ์ หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์ ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบก่อนตรวจ

โปรแกรมตรวจสุขภาพ 59 รายการ โปรแกรม Advance สำหรับผู้ที่อายุ 15 ปีขึ้นไป มีรายการตรวจดังนี้
1. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) 15 รายการ
2. ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (Fasting Blood Sugar)
3. ตรวจประเมินความเสี่ยงและติดตามการรักษาโรคเบาหวาน (HbA1C)
4. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของไต (BUN)
5. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของไต (Creatinine)
6. ตรวจประเมินอัตราการกรองของไต (eGFR)
7. ตรวจโรคเก๊าท์ (Uric acid)
8. ตรวจไขมันรวม (Total Cholesterol)
9. ตรวจไขมันดี (HDL)
10. ตรวจไขมันเลว (LDL)
11. ตรวจไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride)
12. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ AST (SGOT)
13. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ ALT (SGPT)
14. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (ALP)
15. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (Total Protein)
16. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (Albumin)
17. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (Globulin)
18. ตรวจการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (HBsAg)
19. ตรวจภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบบี (HBsAb)
20. ตรวจการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี (HCVAb)
21. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของต่อมไทรอยด์ (TSH)
22. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของต่อมไทรอยด์ (FT4)
23. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของต่อมไทรอยด์ (FT3)
24. ตรวจสารบ่งชี้โรคมะเร็งลำไส้ (CEA)
25. ตรวจสารบ่งชี้โรคมะเร็งตับ (AFP)
26. ตรวจหาสารบ่งชี้โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก (PSA) สำหรับชาย หรือ ตรวจหาสารบ่งชี้โรคมะเร็งรังไข่ (CA125) สำหรับหญิง
27. ตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งทางเดินอาหาร (CA 19-9)
28. ตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิ โปรโตซัว (Stool Examination)
29. ตรวจอุจจาระประเมินความเสี่ยงมะเร็งลำไส้ใหญ่ (Stool Occult Blood)
30. ตรวจปัสสาวะ (Urine examination) 17 รายการ

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ตรวจสุขภาพ
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-45 นาที ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ
• ระยะเวลารอผลประมาณ 5-7 วัน ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• การฟังผล แนะนำให้ฟังผลกับแพทย์ กรณีไม่สะดวกพบแพทย์สามารถส่งผลทางอีเมลได้
• หากได้ผลตรวจแล้วต้องการปรึกษาแพทย์ สามารถแจ้งเจ้าหน้าที่ได้ เจ้าหน้าที่จะทำนัดพบแพทย์ให้ในวันที่มารับบริการ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม (แพทย์ผู้ตรวจมีเฉพาะแพทย์หญิงเท่านั้น)
• ชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้
• สามารถออกใบรับรองแพทย์ได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ในวันพบแพทย์โปรดแจ้งเจ้าหน้าที่ล่วงหน้า

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• งดเครื่องดื่มและอาหารอย่างน้อย 8-9 ชั่วโมงก่อนเข้ารับบริการ
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด ก่อนตรวจสุขภาพอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
• นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ 6-8 ชั่วโมง
• ควรสวมเสื้อผ้าหลวมๆ สบายตัว เพื่อความสะดวกในการตรวจ ควรเป็นเสื้อผ้าแบบชุดคนละท่อน และไม่สวมเสื้อชั้นในแบบเต็มตัว
• สำหรับผู้หญิง หากกำลังตั้งครรภ์ หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์ ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบก่อนตรวจ

โปรแกรมตรวจสุขภาพ 57 รายการ โปรแกรม Non-Fasting สำหรับผู้ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรายการตรวจดังนี้
1. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) 15 รายการ
2. ตรวจประเมินความเสี่ยงและติดตามการรักษาโรคเบาหวาน (HbA1C)
3. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของไต (BUN)
4. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของไต (Creatinine)
5. ตรวจประเมินอัตราการกรองของไต (eGFR)
6. ตรวจโรคเก๊าท์ (Uric Acid)
7. ตรวจไขมันรวม (Total Cholesterol)
8. ตรวจไขมันดี (HDL)
9. ตรวจไขมันเลว (LDL)
10. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ AST (SGOT)
11. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ ALT (SGPT)
12. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (ALP)
13. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (Total Protein)
14. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (Albumin)
15. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (Globulin)
16. ตรวจการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (HBsAg)
17. ตรวจภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบบี (HBsAb)
18. ตรวจการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี (HCVAb)
19. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของต่อมไทรอยด์ (TSH)
20. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของต่อมไทรอยด์ (FT4)
21. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของต่อมไทรอยด์ (FT3)
22. ตรวจหาสารบ่งชี้โรคมะเร็งตับ (AFP)
23. ตรวจหาสารบ่งชี้โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก (PSA) สำหรับชายเท่านั้น หรือ ตรวจหาสารบ่งชี้โรคมะเร็งรังไข่ (CA125) สำหรับหญิงเท่านั้น
24. ตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิ โปรโตซัว (Stool Examination)
25. ตรวจอุจจาระประเมินความเสี่ยงมะเร็งลำไส้ใหญ่ (Stool Occult Blood)
26. ตรวจปัสสาวะ (Urine Examination) 17 รายการ
• ฟรี! ปรึกษานักกายภาพบำบัด (Physical Consultation)
ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ตรวจสุขภาพ
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-45 นาที ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ
• ระยะเวลารอผลประมาณ 5-7 วัน ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• การฟังผล แนะนำให้ฟังผลกับแพทย์ กรณีไม่สะดวกพบแพทย์สามารถส่งผลทางอีเมลได้
• หากได้ผลตรวจแล้วต้องการปรึกษาแพทย์ สามารถแจ้งเจ้าหน้าที่ได้ เจ้าหน้าที่จะทำนัดพบแพทย์ให้ในวันที่มารับบริการ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม (แพทย์ผู้ตรวจมีเฉพาะแพทย์หญิงเท่านั้น)
• ชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้
• สามารถออกใบรับรองแพทย์ได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ในวันพบแพทย์โปรดแจ้งเจ้าหน้าที่ล่วงหน้า

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด ก่อนตรวจสุขภาพอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
• นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ 6-8 ชั่วโมง
• ควรสวมเสื้อผ้าหลวมๆ สบายตัว เพื่อความสะดวกในการตรวจ ควรเป็นเสื้อผ้าแบบชุดคนละท่อน และไม่สวมเสื้อชั้นในแบบเต็มตัว
• สำหรับผู้หญิง หากกำลังตั้งครรภ์ หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์ ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบก่อนตรวจ

โปรแกรมตรวจสุขภาพ 57 รายการ โปรแกรม Non-Fasting สำหรับผู้ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรายการตรวจดังนี้
1. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) 15 รายการ
2. ตรวจประเมินความเสี่ยงและติดตามการรักษาโรคเบาหวาน (HbA1C)
3. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของไต (BUN)
4. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของไต (Creatinine)
5. ตรวจประเมินอัตราการกรองของไต (eGFR)
6. ตรวจโรคเก๊าท์ (Uric Acid)
7. ตรวจไขมันรวม (Total Cholesterol)
8. ตรวจไขมันดี (HDL)
9. ตรวจไขมันเลว (LDL)
10. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ AST (SGOT)
11. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ ALT (SGPT)
12. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (ALP)
13. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (Total Protein)
14. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (Albumin)
15. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของตับ (Globulin)
16. ตรวจการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (HBsAg)
17. ตรวจภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบบี (HBsAb)
18. ตรวจการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี (HCVAb)
19. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของต่อมไทรอยด์ (TSH)
20. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของต่อมไทรอยด์ (FT4)
21. ตรวจสมรรถภาพการทำงานของต่อมไทรอยด์ (FT3)
22. ตรวจหาสารบ่งชี้โรคมะเร็งตับ (AFP)
23. ตรวจหาสารบ่งชี้โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก (PSA) สำหรับชายเท่านั้น หรือ ตรวจหาสารบ่งชี้โรคมะเร็งรังไข่ (CA125) สำหรับหญิงเท่านั้น
24. ตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิ โปรโตซัว (Stool Examination)
25. ตรวจอุจจาระประเมินความเสี่ยงมะเร็งลำไส้ใหญ่ (Stool Occult Blood)
26. ตรวจปัสสาวะ (Urine Examination) 17 รายการ
• ฟรี! ปรึกษานักกายภาพบำบัด (Physical Consultation)
ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ตรวจสุขภาพ
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-45 นาที ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ
• ระยะเวลารอผลประมาณ 5-7 วัน ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• การฟังผล แนะนำให้ฟังผลกับแพทย์ กรณีไม่สะดวกพบแพทย์สามารถส่งผลทางอีเมลได้
• หากได้ผลตรวจแล้วต้องการปรึกษาแพทย์ สามารถแจ้งเจ้าหน้าที่ได้ เจ้าหน้าที่จะทำนัดพบแพทย์ให้ในวันที่มารับบริการ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม (แพทย์ผู้ตรวจมีเฉพาะแพทย์หญิงเท่านั้น)
• ชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้
• สามารถออกใบรับรองแพทย์ได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ในวันพบแพทย์โปรดแจ้งเจ้าหน้าที่ล่วงหน้า

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด ก่อนตรวจสุขภาพอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
• นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ 6-8 ชั่วโมง
• ควรสวมเสื้อผ้าหลวมๆ สบายตัว เพื่อความสะดวกในการตรวจ ควรเป็นเสื้อผ้าแบบชุดคนละท่อน และไม่สวมเสื้อชั้นในแบบเต็มตัว
• สำหรับผู้หญิง หากกำลังตั้งครรภ์ หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์ ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบก่อนตรวจ

ตรวจระดับวิตามิน D ในร่างกาย (Check Up Vit D)

"รายละเอียดราคา
โปรแกรมตรวจสุขภาพ +Lab 14 รายการ มีรายการตรวจดังนี้
• ตรวจความบกพร่องเอนไซด์ (G6PD)
• ตรวจคัดกรองภาวะโรคไต (Creatinine)
• ตรวจคัดกรองโรคตับ AST (SGOT)
• ตรวจคัดกรองโรคตับ ALT (SGPT)
• ตรวจค่าน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1c)
• ตรวจตะกอนของเม็ดเลือดแดง (ESR)
• ตรวจระดับการอักเสบของหลอดเลือด (CRP)
• ตรวจภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ
• ตรวจสารตะกั่วในเลือด(Lead (Pb) )
• ตรวจค่าคลอเลสเตอรอลในเลือด (Total Cholesterol)
• ตรวจค่าไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride)
• ตรวจระดับไขมันชนิด HDL-C ในเลือด (HDL- Cholesterol )
• ตรวจระดับไขมันชนิด LDL-C ในเลือด(LDL- Cholesterol )
• ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)

ค่าตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย ด้วยเครื่อง EIS 8 รายการ มีรายการตรวจดังนี้
• ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด
• ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ
• ตรวจสแกนระบบขับถ่าย และระบบสืบพันธุ์
• ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ
• ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ
• ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร
• ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง
• ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร

พร้อมปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Doctor Consultant)

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-60 นาที
• ควรนัดหมายล่วงหน้า
• ใช้วิธีการเจาะเลือด และตรวจสแกนร่างกายด้วยเทคโนโลยี Electro Interstitial Scan โดยการส่งกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ เข้าสู่ร่างกาย เพื่อวัดความต้านทานของน้ำที่อยู่ระหว่างเซลล์แต่ละอวัยวะ
• ทราบผลการตรวจประมาณ 7-14 วันหลังรับบริการ
• ผู้รับบริการจะต้องเข้ามาพบแพทย์และผู้เชี่ยวชาญ ทั้งหมด 2 ครั้ง
    - ครั้งแรก เจาะเลือดที่ปลายนิ้วมือ เพื่อส่งไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการพิเศษ และตรวจสแกนร่างกาย 8 ระบบ ด้วยเครื่อง EIS
    - ครั้งที่สอง ฟังการวิเคราะห์ผลเลือดและปรึกษาแพทย์ (ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม)
• หากมีการดามเหล็กในร่างกาย หรือทำบอลลูนหัวใจ จะไม่สามารถตรวจร่างกายในส่วนของการสแกนร่างกายได้
• ราคาดังกล่าวชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้
• สามารถออกใบรับรองแพทย์ได้ ในวันฟังผลหรือวันพบแพทย์โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• ควรนอนพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6 ชั่วโมง ก่อนตรวจ
• งดเครื่องดื่มและอาหาร อย่างน้อย 8-10 ชั่วโมงก่อนตรวจ สามารถจิบน้ำเปล่าได้เล็กน้อย
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ
• หากมีโรคประจำตัวหรือประวัติสุขภาพอื่นๆ กรุณานำผลการตรวจหรือรายงานจากแพทย์มาด้วยเพื่อประกอบการวินิจฉัย
• ควรสวมเสื้อผ้าที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน"

ตรวจมะเร็งทั่วไป

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

ค่าตรวจมะเร็ง Cancer Screening Test สำหรับผู้ชาย Lab 15 รายการ มีรายการตรวจดังนี้

ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)

ตรวจคัดกรองภาวะโรคไต (BUN)

ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (FBS)

ตรวจคัดกรองภาวะโรคไต (Creatinine + eGFR)

ตรวจคัดกรองภาวะโรคเกาต์ Uric Acid

ตรวจคัดกรองโรคตับ (SGOT-AST)

ตรวจคัดกรองโรคตับ (SGPT-ALT)

ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งตับ (AFP)

ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งลำไส้ (CEA)

ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก (PSA)

ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก (Free PSA)

ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน (CA 19-9)

ตรวจเอนไซม์ LDH

ตรวจสารเฟอร์ริติน (Serum Ferritin)

ตรวจระดับฮอร์โมนเพศหญิง (Beta hCG)

"รายละเอียดราคา ตรวจมะเร็งหญิง
ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?
ค่าตรวจมะเร็งสำหรับผู้หญิง 25 รายการ โปรแกรม Cancer Screening Test Lab 16 รายการ + BioBodyScan มีรายการตรวจดังนี้
• ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC - Complete Blood Count)
• ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (FBS - Fasting Blood Sugar)
• ตรวจการทำงานของไต (BUN)
• ตรวจการทำงานของไต (Creatinine)
• ตรวจการทำงานของไต (eGFR)
• ตรวจหากรดยูริกในเลือด (Uric Acid)
• ตรวจคัดกรองโรคตับ (SGOT-AST)
• ตรวจคัดกรองโรคตับ (SGPT-ALT)
• ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน (AFP)
• ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งลำไส้ใหญ่ (CEA)
• ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งเต้านม (CA 125)
• ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งรังไข่ (CA 15-3)
• ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน (CA 19-9)
• ตรวจท่อน้ำดีตับ LDH
• ตรวจธาตุเหล็กในร่างกาย (Serum Ferritin)
• ตรวจระดับฮอร์โมนเพศหญิง (beta-hCG)

ค่าตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย ด้วยเครื่อง EIS 8 รายการ มีรายการตรวจดังนี้
• ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด
• ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ
• ตรวจสแกนระบบขับถ่าย และระบบสืบพันธุ์
• ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ
• ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ
• ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร
• ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง
• ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร

• ค่าปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการ (Doctor Consultant)
• ฟรี! ปรึกษานักกายภาพบำบัด (Physical Consultation)

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ตรวจมะเร็งหญิง
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30 นาที
• ควรนัดหมายล่วงหน้า
• ทราบผลการตรวจประมาณ 7-14 วันหลังรับบริการ
• เจ้าหน้าที่จะนัดหมายเข้ามาฟังผลกับแพทย์ที่คลินิก
• ตรวจด้วยวิธีเจาะเลือด
• เครื่องสแกน Electro Interstitial (EIS) เป็นอุปกรณ์การถ่ายภาพทางการแพทย์ ใช้หลักการการขัดขวางการนำไฟฟ้าของร่างกาย (Bio-electro impedances) ในการรตรวจดูการทำงานของเซลล์ในแต่ละอวัยวะ ทำให้เห็นภาวะผิดปกติ ระดับความเสื่อม และแนวโน้มที่อาจเกิดขึ้นตามหลักการสรีรวิทยา
• ผู้ที่มีโลหะในร่างกายจะไม่สามารถรับบริการตรวจสแกนด้วยเครื่อง EIS
• ชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้ โดยต้องใช้พาสปอร์ตเพื่อยืนยันตัวตน

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• ผู้ที่ตั้งครรภ์หรือสงสัยว่ากำลังตั้งครรภ์ ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบก่อนการตรวจก่อน
• ควรนอนพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6 ชั่วโมง ก่อนตรวจ
• งดเครื่องดื่มและอาหาร อย่างน้อย 8-10 ชั่วโมงก่อนตรวจ สามารถจิบน้ำเปล่าได้เล็กน้อย
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ
• ควรสวมเสื้อผ้าที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจมะเร็งหญิง
- การตรวจคัดกรองมะเร็ง เป็นการตรวจหาความเสี่ยงในเบื้องต้น เพื่อประเมินโอกาสการเกิดมะเร็งตามช่วงอายุที่เหมาะสม ทั้งในคนทั่วไปที่มีสุขภาพดี และผู้ที่มีความกังวลหรือมีอาการผิดปกติ

- 5 อันดับแรกของมะเร็งที่พบบ่อยในผู้หญิงไทย ได้แก่ เต้านม ช่องคลอด ลำไส้ใหญ่ มดลูก ปอดและหลอดลม

- อ้างอิงจาก จำนวนผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่จากสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พ.ศ. 2562 (ข้อมูลล่าสุด)

มะเร็ง คืออะไร?
• มะเร็ง คือเนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นอย่างผิดปกติในร่างกาย มีการแบ่งตัวและเติบโตอย่างไร้การควบคุมจากระบบภูมิคุ้มกัน ซึ่งเซลล์มะเร็งนี้มีต้นกำเนิดมาจากการกลายพันธุ์ของเซลล์ปกติในร่างกาย

ข้อดีของการตรวจคัดกรองมะเร็ง คือ?
• การตรวจคัดกรองมะเร็งสามารถบอกความเสี่ยงการเกิดมะเร็ง ได้ตั้งแต่ยังไม่มีการพัฒนาเป็นเซลล์มะเร็ง การตรวจไม่ยุ่งยาก และไม่มีการตัดเนื้อเยื่อไปตรวจแต่อย่างใด
• หากผลการตรวจคัดกรองพบว่าไม่มีความเสี่ยง จะทำให้ผู้ที่มีสุขภาพดีมั่นใจยิ่งขึ้น และช่วยให้ผู้ที่รู้สึกมีอาการผิดปกติ หรือมีความกังวลอยู่ คลายความวิตกกังวลไปได้
• หากพบว่ามีความเสี่ยงอยู่บ้าง ยังไม่ได้หมายความว่าเป็นมะเร็ง แพทย์จะให้ความรู้เกี่ยวกับความเสี่ยง ข้อควรระวัง และการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม พร้อมทั้งแนะนำว่าควรมีการตรวจเพิ่มเติมเพื่อยืนยันผลหรือไม่
• หากมีเซลล์ผิดปกติอยู่ การตรวจคัดกรองจะช่วยให้มีโอกาสตรวจพบได้เร็ว และมีโอกาสรักษาให้หายมากขึ้น การเริ่มต้นรักษาตั้งแต่เนิ่นๆ จะทำให้ลดโอกาสการเสียชีวิตจากโรคนี้ได้

ตรวจคัดกรองมะเร็ง VS ตรวจมะเร็ง ต่างกันอย่างไร?
- การตรวจคัดกรองมะเร็ง เป็นการตรวจสิ่งบ่งชี้ความเสี่ยงของมะเร็งในเบื้องต้น โดยยังไม่มีการเก็บตัวอย่างเนื้อเยื่อไปตรวจยืนยันว่าเป็นมะเร็งหรือไม่ การตรวจค่อนข้างสะดวก และถือเป็นด่านแรกที่จะช่วยให้เราประเมินความเสี่ยงได้

- ในขณะที่ การตรวจมะเร็งจะมีการตรวจอื่นๆ ที่ละเอียดมากขึ้น โดยวิธีการตรวจจะขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่สงสัยว่าจะมีเนื้อร้าย และจะมีการตัดตัวอย่างเนื้อเยื่อไปตรวจวิเคราะห์เพื่อยืนยันผลว่าเป็นเซลล์มะเร็งจริงหรือไม่

เนื้องอก VS มะเร็ง ต่างกันอย่างไร?
• เนื้องอก เกิดจากการเจริญเติบโตผิดปกติของเซลล์ แต่ไม่เจริญลุกลามไปยังบริเวณอื่นของร่างกาย โดยส่วนใหญ่จะไม่อันตราย แต่หากอยู่ในส่วนที่สำคัญหรือปล่อยทิ้งไว้จนมีขนาดใหญ่ขึ้นจนมีผลต่อการทำงานของอวัยวะนั้นๆ หรืออวัยวะข้างเคียง ก็อาจก่อให้เกิดอันตรายได้ ซึ่งหากส่วนของเนื้องอกนั้นมีลักษณะเป็นถุงน้ำจะถูกเรียกว่าซีสต์

• ในขณะที่มะเร็งเป็นเนื้องอกที่เป็นเนื้อร้าย มีการแบ่งตัวของเซลล์ที่ผิดปกติ ขยายขนาดขึ้นเรื่อยๆ และสามารถลุกลามไปยังส่วนอื่นๆ ได้ เป็นอันตรายต่อการทำงานของอวัยวะนั้นๆ และระบบอื่นๆ ที่มะเร็งลุกลามไป

หมายเหตุ
• หากมีโรคประจำตัวควรแจ้งเจ้าหน้าที่ก่อนเข้ารับการตรวจ"

รายละเอียดราคา ตรวจมะเร็งชาย
ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?
ค่าตรวจมะเร็งสำหรับผู้ชาย 25 รายการ โปรแกรม Cancer Screening Test Lab 16 รายการ + Bodyscan มีรายการตรวจดังนี้
• ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC - Complete Blood Count)
• ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (FBS - Fasting Blood Sugar)
• ตรวจการทำงานของไต (BUN)
• ตรวจการทำงานของไต (Creatinine)
• ตรวจการทำงานของไต (eGFR)
• ตรวจหากรดยูริกในเลือด Uric Acid
• ตรวจคัดกรองโรคตับ (SGOT-AST)
• ตรวจคัดกรองโรคตับ (SGPT-ALT)
• ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน (AFP)
• ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งลำไส้ใหญ่ (CEA)
• วินิจฉัยและติดตามผลการรักษาโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก (PSA)
• ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก (Free PSA)
• ตรวจสารบ่งชี้มะเร็งตับอ่อน (CA 19-9)
• ตรวจท่อน้ำดีตับ (LDH)
• ตรวจธาตุเหล็กในร่างกาย (Serum Ferritin)
• ตรวจระดับฮอร์โมนเพศหญิง (beta-hCG)

ค่าตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย ด้วยเครื่อง EIS 8 รายการ มีรายการตรวจดังนี้
• ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด
• ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ
• ตรวจสแกนระบบขับถ่าย และระบบสืบพันธุ์
• ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ
• ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ
• ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร
• ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง
• ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร
• ค่าปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการ (Doctor Consultant)
ฟรี! ปรึกษานักกายภาพบำบัด (Physical Consultation)

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ตรวจมะเร็งหญิง
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30 นาที
• ควรนัดหมายล่วงหน้า
• ทราบผลการตรวจประมาณ 7-14 วันหลังรับบริการ
• เจ้าหน้าที่จะนัดหมายเข้ามาฟังผลกับแพทย์ที่คลินิก
• ตรวจด้วยวิธีเจาะเลือด
• เครื่องสแกน Electro Interstitial (EIS) เป็นอุปกรณ์การถ่ายภาพทางการแพทย์ ใช้หลักการการขัดขวางการนำไฟฟ้าของร่างกาย (Bio-electro impedances) ในการรตรวจดูการทำงานของเซลล์ในแต่ละอวัยวะ ทำให้เห็นภาวะผิดปกติ ระดับความเสื่อม และแนวโน้มที่อาจเกิดขึ้นตามหลักการสรีรวิทยา
• ผู้ที่มีโลหะในร่างกายจะไม่สามารถรับบริการตรวจสแกนด้วยเครื่อง EIS
• ชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้ โดยต้องใช้พาสปอร์ตเพื่อยืนยันตัวตน

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• ผู้ที่ตั้งครรภ์หรือสงสัยว่ากำลังตั้งครรภ์ ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบก่อนการตรวจก่อน
• ควรนอนพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6 ชั่วโมง ก่อนตรวจ
• งดเครื่องดื่มและอาหาร อย่างน้อย 8-10 ชั่วโมงก่อนตรวจ สามารถจิบน้ำเปล่าได้เล็กน้อย
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ
• ควรสวมเสื้อผ้าที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจมะเร็งชาย
• การตรวจคัดกรองมะเร็ง เป็นการตรวจหาความเสี่ยงในเบื้องต้น เพื่อประเมินโอกาสการเกิดมะเร็งตามช่วงอายุที่เหมาะสม ทั้งในคนทั่วไปที่มีสุขภาพดี และผู้ที่มีความกังวล หรือมีอาการผิดปกติ

• 5 อันดับแรกของมะเร็งที่พบบ่อยในผู้ชายไทย ได้แก่ ตับและท่อน้ำดี ลำไส้ใหญ่และทวารหนัก ปอดและหลอดลม ต่อมลูกหมาก ปากและช่องปาก

• อ้างอิงจาก จำนวนผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่จากสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พ.ศ. 2562 (ข้อมูลล่าสุด)

มะเร็ง คืออะไร?
• มะเร็ง คือเนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นอย่างผิดปกติในร่างกาย มีการแบ่งตัว และเติบโตอย่างไร้การควบคุมจากระบบภูมิคุ้มกัน ซึ่งเซลล์มะเร็งนี้มีต้นกำเนิดมาจากการกลายพันธุ์ของเซลล์ปกติในร่างกาย

ข้อดีของการตรวจคัดกรองมะเร็งคือ?
• การตรวจคัดกรองมะเร็งสามารถบอกความเสี่ยงการเกิดมะเร็ง ได้ตั้งแต่ยังไม่มีการพัฒนาเป็นเซลล์มะเร็ง การตรวจไม่ยุ่งยาก และไม่มีการตัดเนื้อเยื่อไปตรวจแต่อย่างใด
• หากผลการตรวจคัดกรองพบว่าไม่มีความเสี่ยง จะทำให้ผู้ที่มีสุขภาพดีมั่นใจยิ่งขึ้น และช่วยให้ผู้ที่รู้สึกมีอาการผิดปกติ หรือมีความกังวลอยู่ คลายความวิตกกังวลไปได้
• หากพบว่ามีความเสี่ยงอยู่บ้าง ยังไม่ได้หมายความว่าเป็นมะเร็ง แพทย์จะให้ความรู้เกี่ยวกับความเสี่ยง ข้อควรระวัง และการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม พร้อมทั้งแนะนำว่าควรมีการตรวจเพิ่มเติมเพื่อยืนยันผลหรือไม่
• หากมีเซลล์ผิดปกติอยู่ การตรวจคัดกรองจะช่วยให้มีโอกาสตรวจพบได้เร็ว และมีโอกาสรักษาให้หายมากขึ้น การเริ่มต้นรักษาตั้งแต่เนิ่นๆ จะทำให้ลดโอกาสการเสียชีวิตจากโรคนี้ได้

ตรวจคัดกรองมะเร็ง VS ตรวจมะเร็ง ต่างกันอย่างไร?
• การตรวจคัดกรองมะเร็ง เป็นการตรวจสิ่งบ่งชี้ความเสี่ยงของมะเร็งในเบื้องต้น โดยยังไม่มีการเก็บตัวอย่างเนื้อเยื่อไปตรวจยืนยันว่าเป็นมะเร็งหรือไม่ การตรวจค่อนข้างสะดวก และถือเป็นด่านแรกที่จะช่วยให้เราประเมินความเสี่ยงได้

• ในขณะที่ การตรวจมะเร็งจะมีการตรวจอื่นๆ ที่ละเอียดมากขึ้น โดยวิธีการตรวจจะขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่สงสัยว่าจะมีเนื้อร้าย และจะมีการตัดตัวอย่างเนื้อเยื่อไปตรวจวิเคราะห์เพื่อยืนยันผลว่าเป็นเซลล์มะเร็งจริงหรือไม่

เนื้องอก VS มะเร็ง ต่างกันอย่างไร?
• เนื้องอก เกิดจากการเจริญเติบโตผิดปกติของเซลล์ แต่ไม่เจริญลุกลามไปยังบริเวณอื่นของร่างกาย โดยส่วนใหญ่จะไม่อันตราย แต่หากอยู่ในส่วนที่สำคัญหรือปล่อยทิ้งไว้จนมีขนาดใหญ่ขึ้นจนมีผลต่อการทำงานของอวัยวะนั้นๆ หรืออวัยวะข้างเคียง ก็อาจก่อให้เกิดอันตรายได้ ซึ่งหากส่วนของเนื้องอกนั้นมีลักษณะเป็นถุงน้ำจะถูกเรียกว่าซีสต์

• ในขณะที่มะเร็งเป็นเนื้องอกที่เป็นเนื้อร้าย มีการแบ่งตัวของเซลล์ที่ผิดปกติ ขยายขนาดขึ้นเรื่อยๆ และสามารถลุกลามไปยังส่วนอื่นๆ ได้ เป็นอันตรายต่อการทำงานของอวัยวะนั้นๆ และระบบอื่นๆ ที่มะเร็งลุกลามไป

หมายเหตุ
• หากมีโรคประจำตัวควรแจ้งเจ้าหน้าที่ก่อนเข้ารับการตรวจ

ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ
ผู้ที่เหมาะกับบริการนี้
• ผู้ที่มีประวัติคนในครอบครัวเคยเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง
• ผู้ที่มีคู่นอนหลายคน
• ผู้ที่มีประวัติการเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส หนองใน เริม
• ผู้ที่ขาดสารอาหารบางชนิด โดยเฉพาะผู้ที่รับประทานผัก และผลไม้น้อย
• ผู้ที่สูบบุหรี่

ตรวจภูมิแพ้และภาวะแพ้

โปรแกรมตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 222 ชนิด เช่น กลุ่มผลิตภัณฑ์จากนมและไข่ ธัญพืชกลุ่มมีกลูเตน ธัญพืชกลุ่มไม่มีกลูเตน ผัก ผลไม้ ข้าวสาลี สมุนไพรและเครื่องเทศ ถั่ว พืชเมล็ด โปรแกรมตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 222 ชนิด เช่น กลุ่มผลิตภัณฑ์จากนมและไข่ ธัญพืชกลุ่มมีกลูเตน ธัญพืชกลุ่มไม่มีกลูเตน ผัก ผลไม้ ข้าวสาลี สมุนไพรและเครื่องเทศ ถั่ว พืชเมล็ด และอื่นๆ

ข้อมูลการตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 

ภูมิแพ้แบบแฝง (Food Intolerance) เป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถย่อยอาหารบางชนิดได้ตามปกติ แต่จะไม่แสดงอาการทันทีจึงไม่สามารถระบุชนิดอาหารที่แพ้ได้ ต่างจากการแพ้ปกติที่แสดงอาการให้เห็นในเวลาอันสั้น แม้การแสดงออกของการแพ้อาหารแบบแฝงจะไม่รุนแรง แต่ก็ทำให้เกิดอาการเรื้อรังอื่นๆ ได้ จึงควรรีบตรวจหาต้นตอเพื่อการรักษาและดูแลอาการอย่างถูกต้องต่อไป

แม้จะเกิดขึ้นได้จากหลากหลายสาเหตุ แต่มี 2 สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ

1.ร่างกายขาดเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการย่อยอาหารนั้นๆ ทำให้ไม่สามารถย่อยและดูดซึมไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2.ร่างกายไวต่อสารบางชนิดในอาหาร เช่น สารปรุงแต่ง หรือสารที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติในอาหาร อาการจะมีมากขึ้นเมื่อรับประทานอาหารชนิดนั้นมากเกินไป

อาการที่พบบ่อย

- ท้องอืด

- ท้องผูก

- ปวดท้อง

- ท้องเสีย

- ปวดศีรษะ

- ไอ

- น้ำมูกไหล

- ครั่นเนื้อครั่นตัว

- อ่อนเพลีย

- มีผื่นคัน

- ลมพิษ

แม้อาการเหล่านี้อาจเป็นได้ทั้งจากภูมิแพ้อาหารแฝงและปัญหาสุขภาพอื่นๆ แต่หากมีอาการบ่อยๆ หรือรุนแรง ควรพบแพทย์เพื่อรักษา

*ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็คเกจนี้

- ระยะเวลาในการรับบริการประมาณ 30-60 นาที

- ควรนัดหมายล่วงหน้า

- ทราบผลการตรวจประมาณ 7-14 วันหลังรับบริการ หลังผลออก จะได้เป็นเล่มรายงานผล ลูกค้าสามารถมารับที่สาขา หรือ ส่งผลทางเมล/ไปรษณีย์

*การเตรียมตัวก่อนรับบริการ

- ควรนอนพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6 ชั่วโมง ก่อนตรวจ

- งดรับประทานยาแก้แพ้และสเตียรอยด์ก่อนตรวจ อย่างน้อย 10-14 วัน

- ควรสวมเสื้อผ้าที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน

*การดูแลหลังรับบริการ

- หลังได้รับผลการทดสอบแล้ว สามารถนำผลที่ได้มาปรับใช้เพื่อเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม

*ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ

- หากเป็นผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง สามารถเข้ารับบริการได้เลย

- หากเป็นผู้ที่มีอาการแพ้และรับประทานยาแก้แพ้หรือสเตียรอยด์อยู่ ควรพบแพทย์เพื่อประเมินความจำเป็นในการหยุดยา ขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของอาการแพ้ในแต่ละคน

- ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังจะมีอาการดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด เมื่อหยุดอาหารที่ร่างกายต่อต้านไประยะหนึ่ง

***หมายเหตุ หลังจากได้รับผลการทดสอบแล้วนั้น สามารถนำผลที่ได้มาปรับใช้เลือกกินอาหารที่เหมาะสม เพื่อลดอาหารที่ส่งเสริมอาการแพ้ไม่ใช่โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี จึงไม่จำเป็นต้องตรวจทุกปี**

โปรแกรมตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 222 ชนิด และตรวจเช็คร่างกาย และตรวจเลือด 6 รายการ เพื่อประเมินระดับความเสื่อมของร่างกาย  ประเมินความเสี่ยงในการป่วยเป็นโรคที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต เหมาะสำหรับเป็นโปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี ที่ Bangkok Wellness Medical Clinic

โปรแกรมตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 222 ชนิด เช่น กลุ่มผลิตภัณฑ์จากนมและไข่ ธัญพืชกลุ่มมีกลูเตน ธัญพืชกลุ่มไม่มีกลูเตน ผัก ผลไม้ ข้าวสาลี สมุนไพรและเครื่องเทศ ถั่ว พืชเมล็ด และอื่นๆ

ใช้วิธีการเจาะเลือด และตรวจสแกนร่างกายด้วยเทคโนโลยี Electro Interstitial Scan โดยการส่งกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ เข้าสู่ร่างกาย เพื่อวัดความต้านทานของน้ำที่อยู่ระหว่างเซลล์แต่ละอวัยวะ

ข้อมูลการตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง

ภูมิแพ้แบบแฝง (Food Intolerance) เป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถย่อยอาหารบางชนิดได้ตามปกติ แต่จะไม่แสดงอาการทันทีจึงไม่สามารถระบุชนิดอาหารที่แพ้ได้ ต่างจากการแพ้ปกติที่แสดงอาการให้เห็นในเวลาอันสั้น แม้การแสดงออกของการแพ้อาหารแบบแฝงจะไม่รุนแรง แต่ก็ทำให้เกิดอาการเรื้อรังอื่นๆ ได้ จึงควรรีบตรวจหาต้นตอเพื่อการรักษาและดูแลอาการอย่างถูกต้องต่อไป

แม้จะเกิดขึ้นได้จากหลากหลายสาเหตุ แต่มี 2 สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ

1.ร่างกายขาดเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการย่อยอาหารนั้นๆ ทำให้ไม่สามารถย่อยและดูดซึมไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2.ร่างกายไวต่อสารบางชนิดในอาหาร เช่น สารปรุงแต่ง หรือสารที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติในอาหาร อาการจะมีมากขึ้นเมื่อรับประทานอาหารชนิดนั้นมากเกินไป

อาการที่พบบ่อย

- ท้องอืด

- ท้องผูก

- ปวดท้อง

- ท้องเสีย

- ปวดศีรษะ

- ไอ

- น้ำมูกไหล

- ครั่นเนื้อครั่นตัว

- อ่อนเพลีย

- มีผื่นคัน

- ลมพิษ

แม้อาการเหล่านี้อาจเป็นได้ทั้งจากภูมิแพ้อาหารแฝงและปัญหาสุขภาพอื่นๆ แต่หากมีอาการบ่อยๆ หรือรุนแรง ควรพบแพทย์เพื่อรักษา

ตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย ด้วยเครื่อง EIS 8 รายการ มีรายการตรวจดังนี้

1.Cardiovascular functions /  ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด

2.Endocrine functions / ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ

3.Urogenital and renal functions /  ตรวจสแกนระบบขับถ่าย และระบบสืบพันธุ์

4.Neuromuscular functions /  ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ

5.Respiratory functions /  ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ

6.Digestive functions /  ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร

7.Neurologic functions /  ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง

8.General metabolic functions /  ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร

- (Live Blood Analysis) ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง 

- (Doctor Consultant)    ปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการ

- Laboratory Test (การวิเคราะห์เลือดในห้องปฏิบัติการ) 6 รายการ มีรายการตรวจดังนี้

1.CBC (ตรวจหาความสมบูรณ์ ของเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด)

2.ตรวจความบกพร่องเอนไซด์ (G6PD)

3.ตรวจระดับน้ำตาลสะสม Hemoglobin A1C (HbA1c)

4.ตรวจคัดกรองภาวะโรคไต Creatinine – eGFR

5.ตรวจคัดกรองโรคตับ AST (SGOT)

6.ตรวจคัดกรองโรคตับ ALT (SGPT)

*ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็คเกจนี้

- ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-60 นาที

- ควรนัดหมายล่วงหน้า

- ทราบผลการตรวจประมาณ 7-14 วันหลังรับบริการ หลังผลออก จะได้เป็นเล่มรายงานผล ลูกค้าสามารถมารับที่คลินิก หรือส่งผลทางอีเมล์/ไปรษณีย์

- ผู้รับบริการจะต้องเข้ามาพบแพทย์และผู้เชี่ยวชาญ ทั้งหมด 2 ครั้ง

- ครั้งแรก เจาะเลือดที่ปลายนิ้วมือ เพื่อส่งไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการพิเศษ และตรวจสแกนร่างกาย 8 ระบบ ด้วยเครื่อง EIS

- ครั้งที่สอง ฟังการวิเคราะห์ผลเลือดและปรึกษาแพทย์ (ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม)

*การเตรียมตัวก่อนรับบริการ

- ควรนอนพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6 ชั่วโมง ก่อนตรวจ

- งดเครื่องดื่มและอาหาร อย่างน้อย 8-10 ชั่วโมงก่อนตรวจ สามารถจิบน้ำเปล่าได้เล็กน้อย

- งดรับประทานยาแก้แพ้และสเตียรอยด์ก่อนตรวจ อย่างน้อย 10-14 วัน

- งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ

- หากมีโรคประจำตัวหรือประวัติสุขภาพอื่นๆ กรุณานำผลการตรวจหรือรายงานจากแพทย์มาด้วยเพื่อประกอบการวินิจฉัย

- ควรสวมเสื้อผ้าที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน

*ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ

- หากเป็นผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง สามารถเข้ารับบริการได้เลย

- หากเป็นผู้ที่มีอาการแพ้และรับประทานยาแก้แพ้หรือสเตียรอยด์อยู่ ควรพบแพทย์เพื่อประเมินความจำเป็นในการหยุดยา ขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของอาการแพ้ในแต่ละคน

- ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังจะมีอาการดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด เมื่อหยุดอาหารที่ร่างกายต่อต้านไประยะหนึ่ง

***หมายเหตุ หลังจากได้รับผลการทดสอบแล้วนั้น สามารถนำผลที่ได้มาปรับใช้เลือกกินอาหารที่เหมาะสม เพื่อลดอาหารที่ส่งเสริมอาการแพ้ไม่ใช่โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี จึงไม่จำเป็นต้องตรวจทุกปี***

ข้อมูลการตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 

ภูมิแพ้แบบแฝง (Food Intolerance) เป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถย่อยอาหารบางชนิดได้ตามปกติ แต่จะไม่แสดงอาการทันทีจึงไม่สามารถระบุชนิดอาหารที่แพ้ได้ ต่างจากการแพ้ปกติที่แสดงอาการให้เห็นในเวลาอันสั้น แม้การแสดงออกของการแพ้อาหารแบบแฝงจะไม่รุนแรง แต่ก็ทำให้เกิดอาการเรื้อรังอื่นๆ ได้ จึงควรรีบตรวจหาต้นตอเพื่อการรักษาและดูแลอาการอย่างถูกต้องต่อไป

แม้จะเกิดขึ้นได้จากหลากหลายสาเหตุ แต่มี 2 สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ

1.ร่างกายขาดเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการย่อยอาหารนั้นๆ ทำให้ไม่สามารถย่อยและดูดซึมไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2.ร่างกายไวต่อสารบางชนิดในอาหาร เช่น สารปรุงแต่ง หรือสารที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติในอาหาร อาการจะมีมากขึ้นเมื่อรับประทานอาหารชนิดนั้นมากเกินไป

โปรแกรมตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 222 ชนิด เช่น กลุ่มผลิตภัณฑ์จากนมและไข่ ธัญพืชกลุ่มมีกลูเตน ธัญพืชกลุ่มไม่มีกลูเตน ผัก ผลไม้ ข้าวสาลี สมุนไพรและเครื่องเทศ ถั่ว พืชเมล็ด และอื่นๆ

ใช้วิธีการเจาะเลือด และตรวจสแกนร่างกายด้วยเทคโนโลยี Electro Interstitial Scan โดยการส่งกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ เข้าสู่ร่างกาย เพื่อวัดความต้านทานของน้ำที่อยู่ระหว่างเซลล์แต่ละอวัยวะ

ข้อมูลการตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง

ภูมิแพ้แบบแฝง (Food Intolerance) เป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถย่อยอาหารบางชนิดได้ตามปกติ แต่จะไม่แสดงอาการทันทีจึงไม่สามารถระบุชนิดอาหารที่แพ้ได้ ต่างจากการแพ้ปกติที่แสดงอาการให้เห็นในเวลาอันสั้น แม้การแสดงออกของการแพ้อาหารแบบแฝงจะไม่รุนแรง แต่ก็ทำให้เกิดอาการเรื้อรังอื่นๆ ได้ จึงควรรีบตรวจหาต้นตอเพื่อการรักษาและดูแลอาการอย่างถูกต้องต่อไป

แม้จะเกิดขึ้นได้จากหลากหลายสาเหตุ แต่มี 2 สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ

1.ร่างกายขาดเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการย่อยอาหารนั้นๆ ทำให้ไม่สามารถย่อยและดูดซึมไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2.ร่างกายไวต่อสารบางชนิดในอาหาร เช่น สารปรุงแต่ง หรือสารที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติในอาหาร อาการจะมีมากขึ้นเมื่อรับประทานอาหารชนิดนั้นมากเกินไป

ตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย ด้วยเครื่อง EIS 8 รายการ มีรายการตรวจดังนี้

1.Cardiovascular functions/ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด

2.Endocrine functions/ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ

3.Urogenital and renal functions/ตรวจสแกนระบบขับถ่าย และระบบสืบพันธุ์

4.Neuromuscular functions/ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ

5.Respiratory functions/ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ

6.Digestive functions/ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร

7.Neurologic functions/ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง

8.General metabolic functions/ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร

- (Live Blood Analysis) ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง 

- (Doctor Consultant) ปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการ

Laboratory Test (การวิเคราะห์เลือดในห้องปฏิบัติการ) 6 รายการ มีรายการตรวจดังนี้

1.CBC (ตรวจหาความสมบูรณ์ ของเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด)

2.ตรวจความบกพร่องเอนไซด์ (G6PD)

3.ตรวจระดับน้ำตาลสะสม Hemoglobin A1C (HbA1c)

4.ตรวจคัดกรองภาวะโรคไต Creatinine – eGFR

5.ตรวจคัดกรองโรคตับ AST (SGOT)

6.ตรวจคัดกรองโรคตับ ALT (SGPT)

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

ค่าตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 222 รายการ

ตรวจหาปริมาณภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส COVID-19 IgG Antibody Quantitative ด้วยวิธี CMIA สำหรับผู้ที่เคยได้รับเชื้อหรือฉีดวัคซีนครบ 2 เข็มแล้ว 1 ท่าน 1 ครั้ง

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 

ภูมิแพ้แบบแฝง⠀(Food Intolerance) เป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถย่อยอาหารบางชนิดได้ตามปกติ แต่จะไม่แสดงอาการทันทีจึงไม่สามารถระบุชนิดอาหารที่แพ้ได้ ต่างจากการแพ้ปกติที่แสดงอาการให้เห็นในเวลาอันสั้น แม้การแสดงออกของการแพ้อาหารแบบแฝงจะไม่รุนแรง แต่ก็ทำให้เกิดอาการเรื้อรังอื่นๆ ได้ จึงควรรีบตรวจหาต้นตอเพื่อการรักษาและดูแลอาการอย่างถูกต้องต่อไป

สาเหตุ

แม้จะเกิดขึ้นได้จากหลากหลายสาเหตุ แต่มี 2 สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ

• ร่างกายขาดเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการย่อยอาหารนั้นๆ ทำให้ไม่สามารถย่อยและดูดซึมไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

• ร่างกายไวต่อสารบางชนิดในอาหาร เช่น สารปรุงแต่ง หรือสารที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติในอาหาร อาการจะมีมากขึ้นเมื่อรับประทานอาหารชนิดนั้นมากเกินไป

อาการที่พบบ่อย

• ท้องอืด

• ท้องผูก

• ปวดท้อง

• ท้องเสีย

• ปวดศีรษะ

• ไอ

• น้ำมูกไหล

• ครั่นเนื้อครั่นตัว

• อ่อนเพลีย

• มีผื่นคัน

• ลมพิษ

"มีรายการตรวจดังนี้: 

1. ข้าวบาร์เลย์

2. แป้งไกลอะดิน

3. ข้าวโอ๊ต

4. แป้งไรย์

5. แป้งสเปลท์

6. ข้าวสาลี

7. แป้งบักวีท

8. เมล็ดแฟลกซ์

9. ข้าวโพด

10. ข้าวฟ่าง (ข้าวเดือย)

11. ข้าวเจ้า

12. เนื้อวัว

13. เนื้อไก่

14. เนื้อแกะ

15. เนื้อหมู

16. ไก่งวง

17. นมวัว

18. ไข่แดง

19. ไข่ขาว

20. ชีสแพะ

21. นมแพะ

22. นมแกะ

23. ชีสแกะ

24. โยเกิร์ต

25. มะเขือม่วง

26. หัวบีทรูท

27. พริกหยวก

28. บรอกโคลี

29. แครอท

30. ผักขึ้นฉ่าย

31. พริก

32. แตงกวา

33. ฮอสแรดิช (วาซาบิเทียม)

34. ต้นหอมญี่ปุ่น

35. มะกอก

36. หัวหอม

37. มันฝรั่ง

38. กะหล่ำปลีแดง

39. มะเขือเทศ

40. หัวผักกาด

41. บวบ

42. อาร์ติโชก

43. หน่อไม้ฝรั่ง

44. ผักโขม

45. ถั่วแขก

46. ถั่ว

47. ถั่วเหลือง

48. ถั่วเลนทิล (เมล็ดกลมแบนขนาดเล็ก)

49. ถั่วขาว

50. ผักกาดหอม

51. คอร์นสลัด

52. แอปเปิล

53. ผลแอปปริคอต

54. กล้วย

55. เชอร์รี่

56. องุ่น

57. กีวี่

58. มะนาว

59. ลูกท้อ

60. ส้ม

61. สับปะรด

62. สตรอเบอร์รี่

63. แตงโม

64. ลูกแพร์

65. ลูกพลัม

66. ส้มชนิดหนึ่งตระกูลส้มโอ

67. ลูกพีช

68. ผลอินทผลัม

69. ใบโหระพา

70. พริกไทยดำ/ขาว

71. อบเชย

72. กระเทียม

73. เมล็ดมัสตาร์ด

74. ลูกจันทน์เทศ

75. ออริกาโน

76. พาร์สเลย์ และผักชี

77. ใบสะระแหน่

78. เมล็ดป๊อปปี้

79. โรสแมรี่

80. ไธม์

81. วานิลลา

82. ถั่วอัลมอนด์

83. มะม่วงหิมพานต์

84. เมล็ดโกโก้

85. ถั่วเฮเซล

86. ถั่วลิสง

87. ถั่วพิสตาชิโอ

88. งา

89. เมล็ดทานตะวัน

90. ถั่ววอลนัต

91. มะพร้าว และเนื้อมะพร้าว

92. เห็ดผสม เห็ดนางรม เห็ดฟาง เห็ดหอม และเห็ดชองเทอเรลล์

93. เห็ดผสม (Bay Boletus, Boletus)

94. กุ้ง

95. ปลาแซลมอน

96. ปลาทูน่า

97. หอยกาบ

98. กุ้ง

99. ปลาแอนโชวี่

100. ปลาฉนาก

101. ปลาเทราต์

102. ปลาตาเดียว และปลาลิ้นหมา

103. ปลาค็อด

104. ยีสต์สำหรับหมักเครื่องดื่ม

105. ยีสต์สำหรับทำขนมปัง

106. น้ำผึ้ง

107. กาแฟ

108. ชาดำ

109. เมล็ดแครอบ (คล้ายโกโก้ใช้ทำขนม แทนช็อคโกแลต)

110. น้ำมันจากดอกเรปซีด

111. เนื้อเป็ด

112. เนื้อแพะ

113. เนื้อห่าน

114. เนื้อนกกระจอกเทศ

115. เนื้อนกกระทา

116. เนื้อกระต่าย

117. เนื้อกวางตัวเมีย

118. ไก่ต๊อก

119. เนื้อม้า

120. นมหมักมีรสเปรี้ยว

121. เบต้าแลคโตกลอบูลิน (พบในนมวัว)

122. เนย

123. เนยแข็งคาเมมเบิร์ต

124. เคซีน โปรตีนในนมวัว

125. ชีสชนิดเอมเมนทอล

126. ชีสชนิดคอตเตจ

127. ชีสชนิดมอสซาเรลล่า

128. ชีสแปรรูป

129. ชีสนมเปรี้ยว

130. หน่อไม้

131. พืชตระกูลกะหล่ำปลี

132. กะหล่ำดอก

133. ผักชาร์ด

134. ผักกาดขาว

135. เฟนเนล

136. พืชตระกูลบวบ

137. ทานตะวัน และแห้วบัวตอง

138. ผักเคล

139. หัวไชเท้า

140. กะหล่ำปลีใบย่น

141. มันเทศ

142. ใบองุ่น

143. กะหล่ำปลีขาว

144. หอมแดง

145. ชะเอม

146. ถั่วลันเตา

147. ถั่วปากอ้า

148. ถั่วชิคพี

149. ถั่วเขียว (ที่นำมาเพาะถั่วงอก)

150. ถั่วแดง

151. ผักชิโคลี

152. ผักกาดแก้ว

153. ผักรอกเก็ต (ใช้ทำสลัด)

154. อะโวคาโด

155. แบล็กเบอร์รี่

156. บลูเบอร์รี่

157. แครนเบอร์รี่

158. เรดเคอร์แรนต์

159. แบล็กเคอร์เรนต์

160. มะเดือฝรั่ง

161. กูสเบอร์รี่

162. เมล่อนฮันนี่ดิว

163. มะนาว

164. ลิ้นจี่

165. มะม่วง

166. มะละกอ

167. ทับทิม

168. ราสเบอร์รี่

169. โรสฮิพ ผลกุหลาบป่า

170. แคนตาลูป

171. ลูกเกด

172. เมล็ดผักชี

173. ใบกระวาน

174. ดอกคาโมมายด์ และเก๊กฮวย

175. เมล็ดเคเปอร์

176. ใบกุยช่าย และต้นกุยช่าย

177. กานพลู

178. ใบผักชี

179. ยี่หร่า

180. ผักชีลาว

181. ขิง

182. มาเจอรัม

183. หญ้าฝรั่น

184. ผกากรอง (เสจ)

185. พริกป่น

186. เครื่องแกง

187. ใบทารากอน

188. ใบฮอพส์

189. สะระแหน่ ใบมินต์

190. ถั่วบราซิล

191. ถั่วแมคคาเดเมีย

192. ลูกสน

193. เกาลัด

194. ถั่วโคล่า

195. ปลาคาร์พ

196. ปลาหมึกกล้วย

197. ปลาไหล

198. ปลาทรายแดง

199. ปลาแฮดดัก

200. ปลาไพด์

201. ปลาเทเบิล

202. ปลาแฮริ่ง

203. กุ้งล็อบสเตอร์

204. ปลาแมกเคอเรล

205. ปลาหมึกสาย

206. หอยนางรม

207. ปลาซาร์ดีน

208. ปลากะพงแดง

209. ปลากะพง

210. ไข่ปลาคาเวียร์

211. ปู

212. วุ้น ผงวุ้น

213. ว่านหางจระเข้

214. ชาเขียว

215. ผงฟู

216. น้ำมันดอกคำฝอย

 

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ:

• ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่ควรอดนอน

• ไม่ต้องงดน้ำ งดอาหารก่อนตรวจ

• ควรสวมเสื้อที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน

 

ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ: 

• การตรวจภูมิแพ้อาหารแฝงไม่ได้เป็นการวินิจฉัยโรค เป็นเพียงทางเลือกหนึ่งในการดูแลสุขภาพ ช่วยให้เลือกหรือปรับการรับประทานอาหารได้อย่างเหมาะสม

 

ภูมิแพ้แบบแฝง (Food Intolerance)

เป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถย่อยอาหารบางชนิดได้ตามปกติ แต่จะไม่แสดงอาการทันที จึงไม่สามารถระบุชนิดอาหารที่แพ้ได้ ต่างจากการแพ้ปกติที่แสดงอาการให้เห็นในเวลาอันสั้น แม้การแสดงออกของการแพ้อาหารแบบแฝงจะไม่รุนแรง แต่ก็ทำให้เกิดอาการเรื้อรังอื่นๆ ได้ จึงควรรีบตรวจหาต้นตอเพื่อการรักษาและดูแลอาการอย่างถูกต้องต่อไป

 

สาเหตุ: 

การแพ้อาหารแฝง เกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่มี 2 สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ

• ร่างกายขาดเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการย่อยอาหารนั้นๆ ทำให้ไม่สามารถย่อยและดูดซึมไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

• ร่างกายไวต่อสารบางชนิดในอาหาร เช่น สารปรุงแต่ง หรือสารที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติในอาหาร อาการจะมีมากขึ้นเมื่อรับประทานอาหารชนิดนั้นมากเกินไป

 

อาการที่พบบ่อย:

• ท้องอืด

• ท้องผูก

• ปวดท้อง

• ท้องเสีย

• ปวดศีรษะ

• ไอ

• น้ำมูกไหล

• ครั่นเนื้อครั่นตัว

• อ่อนเพลีย

• มีผื่นคัน

• ลมพิษ

แม้อาการเหล่านี้อาจเป็นได้ทั้งจากภูมิแพ้อาหารแฝงและปัญหาสุขภาพอื่น ๆ แต่หากมีอาการบ่อย ๆ หรือรุนแรง ควรพบแพทย์เพื่อรักษา

 

วิธีตรวจอาการแพ้อาหารแฝงด้วยตัวเอง:

• จดบันทึกรายการอาหารที่รับประทานและอาการที่เกิดขึ้นหลังจากนั้น

• งดรับประทานอาหารที่สงสัยว่า อาจเป็นสาเหตุทีละชนิด ราว 2-6 สัปดาห์

• กลับไปรับประทานอาหารชนิดนั้นอีกครั้ง หากกลับมามีอาการ ก็เป็นไปได้ว่าสาเหตุมาจากอาหารชนิดนั้น

นอกจากนี้ยังสามารถเข้ารับการตรวจเลือดหาภูมิคุ้มกันในเลือดที่จำเพาะต่ออาหารแต่ละชนิด (Food specific IgG) เพื่อช่วยระบุชนิดอาหารที่มีความเป็นไปได้ที่จะทำให้เกิดภาวะภูมิแพ้อาหารแฝงได้

 

หมายเหตุ:

• หลังจากได้รับผลการทดสอบแล้วนั้น สามารถนำผลที่ได้มาปรับใช้เลือกกินอาหารที่เหมาะสม เพื่อลดอาหารที่ส่งเสริมอาการแพ้

• ไม่ใช่โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี จึงไม่จำเป็นต้องตรวจทุกปี"

 

"Food Allergy (lgG) 

โปรแกรมตรวจภูมิเฉียบพลัน 36 รายการ

 

มีรายการตรวจดังนี้: 

Environment 14 Allergens:

• หญ้า 3 Allergens

• สัตว์เลี้ยง 3 Allergens

• ไรฝุ่น 2 Allergens

• แมลงสาบ 2 Allergens

• เชื้อรา 3 Allergens

• ยาง 1 Allergen

 

 

Food 22 Allergens: 

• ไข่ และโปรตีนในไข่ขาว 4 Allergens

• นมวัว และโปรตีน ในนมวัว 4 Allergens

• อาหารทะเล 7 Allergens

• แป้งสาลี และโปรตีน ในแป้งสาลี 2 Allergens

• ถั่วลิสง และโปรตีน ในถั่วลิสง 3 Allergens

• ถั่วเหลือง 1 Allergen

• มะพร้าว 1 Allergen

 

รายละเอียดการตรวจ:

• ระยะเวลาเจาะเลือดประมาณ 5-10 นาที

• ระยะเวลารอผลการตรวจประมาณ 7-10 วัน

• แพทย์จะนัดเข้าพบอีกครั้งหลังจากผลตรวจออกซึ่งใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง

 

การเตรียมตัวก่อนใช้บริการ:

• ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ

• ควรสวมเสื้อที่ถอดง่าย สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน

• หากมีผลตรวจสุขภาพครั้งล่าสุดให้นำมาด้วย

• หากมียา วิตามิน หรือสมุนไพร ที่ทานเป็นประจำ ควรนำมาด้วยหรือจดบันทึก/ถ่ายรูปฉลากมาแทนได้

• ไม่ต้องงดน้ำ งดอาหาร

 

การดูแลหลังใช้บริการ:

หลังได้รับผลการทดสอบแล้ว สามารถนำผลที่ได้มาปรับใช้เพื่อเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม

 

ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ:

• หากเป็นผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง สามารถเข้ารับบริการได้เลย

• ไม่ต้องงดยาแก้แพ้ หรือยาใด ๆ ก่อนตรวจ

 

ข้อมูลทั่วไป:

การแพ้อาหาร (Food allergy) เป็นปฏิกิริยาที่ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายตอบสนองต่ออาหารบางชนิดแบบผิดปกติ ทำให้มีอาการแพ้เกิดขึ้นเมื่อได้รับอาหารชนิดนั้นๆ โดยสามารถเกิดอาการแพ้อาหารได้เกือบทุกชนิดและไม่อาจคาดเดาระดับความรุนแรงของอาการแพ้ได้ จึงควรเรียนรู้วิธีสังเกตอาการ วิธีหลีกเลี่ยงอาหารที่แพ้ และการรักษาเพื่อให้รับมือได้อย่างถูกต้อง

 

อาการแพ้อาหารที่พบบ่อย:

• บวมตามใบหน้า รอบดวงตา ริมฝีปาก ลิ้น และในลำคอ

• กลืนอาหารลำบาก

• หายใจลำบาก หายใจติดขัด

• เวียนศีรษะคล้ายจะเป็นลม

• คลื่นไส้อาเจียน

• ท้องเสียรุนแรง

• หมดสติ

 

วิธีการทดสอบการแพ้อาหาร:

สามารถแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่

• ทดสอบการแพ้แบบ Open blind คือผู้เข้ารับการทดสอบและแพทย์ผู้ดูแลทราบชนิดอาหารที่จะทำการทดสอบ เป็นการทดสอบการแพ้อาหารที่ใช้บ่อยและสะดวก

• ทดสอบการแพ้แบบ Single blind คือผู้เข้ารับการทดสอบไม่ทราบว่าทดสอบด้วยอาหารชนิดใด มีเพียงแพทย์หรือผู้ดูแลการทดสอบเท่านั้นที่ทราบ

• ทดสอบการแพ้แบบ Double blind คือผู้เข้ารับการทดสอบและแพทย์หรือผู้ดูแลไม่ทราบว่าวันใดคืออาหารจริง (มีอาหารที่ต้องการทดสอบซ่อนไว้) วันใดคืออาหารหลอก (ไม่มีอาหารที่ต้องการทดสอบในนั้น) เพื่อลดอคติในการทดสอบ วิธีนี้เป็นวิธีที่ได้มาตรฐานที่สุด มักใช้ในการวิจัยหรือกรณีที่ผู้ป่วยกลัวการรับประทานอาหารที่สงสัย

 

การเตรียมตัวก่อนมาทดสอบการแพ้อาหาร:

• ผู้เข้ารับการทดสอบต้องไม่มีอาการเจ็บป่วยภายใน 7 วัน ก่อนวันเข้ารับการทดสอบ"

 

"มีรายการตรวจดังนี้:

1. ข้าวบาร์เลย์

2. แป้งไกลอะดิน

3. ข้าวโอ๊ต

4. แป้งไรย์

5. แป้งสเปลท์

6. ข้าวสาลี

7. แป้งบักวีท

8. เมล็ดแฟลกซ์

9. ข้าวโพด

10. ข้าวฟ่าง (ข้าวเดือย)

11. ข้าวเจ้า

12. เนื้อวัว

13. เนื้อไก่

14. เนื้อแกะ

15. เนื้อหมู

16. ไก่งวง

17. นมวัว

18. ไข่แดง

19. ไข่ขาว

20. ชีสแพะ

21. นมแพะ

22. นมแกะ

23. ชีสแกะ

24. โยเกิร์ต

25. มะเขือม่วง

26. หัวบีทรูท

27. พริกหยวก

28. บรอกโคลี

29. แครอท

30. ผักขึ้นฉ่าย

31. พริก

32. แตงกวา

33. ฮอสแรดิช (วาซาบิเทียม)

34. ต้นหอมญี่ปุ่น

35. มะกอก

36. หัวหอม 

37. มันฝรั่ง

38. กะหล่ำปลีแดง

39. มะเขือเทศ

40. หัวผักกาด

41. บวบ

42. อาร์ติโชก

43. หน่อไม้ฝรั่ง

44. ผักโขม

45. ถั่วแขก

46. ถั่ว

47. ถั่วเหลือง

48. ถั่วเลนทิล (เมล็ดกลมแบนขนาดเล็ก)

49. ถั่วขาว

50. ผักกาดหอม

51. คอร์นสลัด

52. แอปเปิล

53. ผลแอปปริคอต

54. กล้วย

55. เชอร์รี่

56. องุ่น

57. กีวี่

58. มะนาว

59. ลูกท้อ

60. ส้ม

61. สับปะรด

62. สตรอเบอร์รี่

63. แตงโม

64. ลูกแพร์

65. ลูกพลัม

66. ส้มชนิดหนึ่งตระกูลส้มโอ

67. ลูกพีช

68. ผลอินทผลัม

69. ใบโหระพา

70. พริกไทยดำ/ขาว

71. อบเชย

72. กระเทียม

73. เมล็ดมัสตาร์ด

74. ลูกจันทน์เทศ

75. ออริกาโน

76. พาร์สเลย์ และผักชี

77. ใบสะระแหน่

78. เมล็ดป๊อปปี้

79. โรสแมรี่

80. ไธม์

81. วานิลลา

82. ถั่วอัลมอนด์

83. มะม่วงหิมพานต์

84. เมล็ดโกโก้

85. ถั่วเฮเซล

86. ถั่วลิสง

87. ถั่วพิสตาชิโอ

88. งา

89. เมล็ดทานตะวัน

90. ถั่ววอลนัต

91. มะพร้าว และเนื้อมะพร้าว

92. เห็ดผสม เห็ดนางรม เห็ดฟาง เห็ดหอม และเห็ดชองเทอเรลล์

93. เห็ดผสม (Bay Boletus, Boletus)

94. กุ้ง

95. ปลาแซลมอน

96. ปลาทูน่า

97. หอยกาบ

98. กุ้ง

99. ปลาแอนโชวี่

100. ปลาฉนาก

101. ปลาเทราต์

102. ปลาตาเดียว และปลาลิ้นหมา

103. ปลาค็อด

104. ยีสต์สำหรับหมักเครื่องดื่ม

105. ยีสต์สำหรับทำขนมปัง

106. น้ำผึ้ง

107. กาแฟ

108. ชาดำ

109. เมล็ดแครอบ (คล้ายโกโก้ใช้ทำขนม แทนช็อคโกแลต)

110. น้ำมันจากดอกเรปซีด

111. เนื้อเป็ด

112. เนื้อแพะ

113. เนื้อห่าน

114. เนื้อนกกระจอกเทศ

115. เนื้อนกกระทา

116. เนื้อกระต่าย

117. เนื้อกวางตัวเมีย

118. ไก่ต๊อก

119. เนื้อม้า

120. นมหมักมีรสเปรี้ยว

121. เบต้าแลคโตกลอบูลิน (พบในนมวัว)

122. เนย

123. เนยแข็งคาเมมเบิร์ต

124. เคซีน โปรตีนในนมวัว

125. ชีสชนิดเอมเมนทอล

126. ชีสชนิดคอตเตจ

127. ชีสชนิดมอสซาเรลล่า

128. ชีสแปรรูป

129. ชีสนมเปรี้ยว

130. หน่อไม้

131. พืชตระกูลกะหล่ำปลี

132. กะหล่ำดอก

133. ผักชาร์ด

134. ผักกาดขาว

135. เฟนเนล

136. พืชตระกูลบวบ

137. ทานตะวัน และแห้วบัวตอง

138. ผักเคล

139. หัวไชเท้า

140. กะหล่ำปลีใบย่น

141. มันเทศ

142. ใบองุ่น

143. กะหล่ำปลีขาว

144. หอมแดง

145. ชะเอม

146. ถั่วลันเตา

147. ถั่วปากอ้า

148. ถั่วชิคพี

149. ถั่วเขียว (ที่นำมาเพาะถั่วงอก)

150. ถั่วแดง

151. ผักชิโคลี

152. ผักกาดแก้ว

153. ผักรอกเก็ต (ใช้ทำสลัด)

154. อะโวคาโด

155. แบล็กเบอร์รี่

156. บลูเบอร์รี่

157. แครนเบอร์รี่

158. เรดเคอร์แรนต์

159. แบล็กเคอร์เรนต์

160. มะเดือฝรั่ง

161. กูสเบอร์รี่

162. เมล่อนฮันนี่ดิว

163. มะนาว

164. ลิ้นจี่

165. มะม่วง

166. มะละกอ

167. ทับทิม

168. ราสเบอร์รี่

169. โรสฮิพ ผลกุหลาบป่า

170. แคนตาลูป

171. ลูกเกด

172. เมล็ดผักชี

173. ใบกระวาน

174. ดอกคาโมมายด์ และเก๊กฮวย

175. เมล็ดเคเปอร์

176. ใบกุยช่าย และต้นกุยช่าย

177. กานพลู

178. ใบผักชี

179. ยี่หร่า

180. ผักชีลาว

181. ขิง

182. มาเจอรัม

183. หญ้าฝรั่น

184. ผกากรอง (เสจ)

185. พริกป่น

186. เครื่องแกง

187. ใบทารากอน

188. ใบฮอพส์

189. สะระแหน่ ใบมินต์

190. ถั่วบราซิล

191. ถั่วแมคคาเดเมีย

192. ลูกสน

193. เกาลัด

194. ถั่วโคล่า

195. ปลาคาร์พ

196. ปลาหมึกกล้วย

197. ปลาไหล

198. ปลาทรายแดง

199. ปลาแฮดดัก

200. ปลาไพด์

201. ปลาเทเบิล

202. ปลาแฮริ่ง

203. กุ้งล็อบสเตอร์

204. ปลาแมกเคอเรล

205. ปลาหมึกสาย

206. หอยนางรม

207. ปลาซาร์ดีน

208. ปลากะพงแดง

209. ปลากะพง

210. ไข่ปลาคาเวียร์

211. ปู

212. วุ้น ผงวุ้น

213. ว่านหางจระเข้

214. ชาเขียว

215. ผงฟู

216. น้ำมันดอกคำฝอย

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ:

• ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่ควรอดนอน

• ไม่ต้องงดน้ำ งดอาหารก่อนตรวจ

• ควรสวมเสื้อที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน

ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ:

• การตรวจภูมิแพ้อาหารแฝงไม่ได้เป็นการวินิจฉัยโรค เป็นเพียงทางเลือกหนึ่งในการดูแลสุขภาพ ช่วยให้เลือกหรือปรับการรับประทานอาหารได้อย่างเหมาะสม

ภูมิแพ้แบบแฝง (Food Intolerance)

เป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถย่อยอาหารบางชนิดได้ตามปกติ แต่จะไม่แสดงอาการทันที จึงไม่สามารถระบุชนิดอาหารที่แพ้ได้ ต่างจากการแพ้ปกติที่แสดงอาการให้เห็นในเวลาอันสั้น แม้การแสดงออกของการแพ้อาหารแบบแฝงจะไม่รุนแรง แต่ก็ทำให้เกิดอาการเรื้อรังอื่นๆ ได้ จึงควรรีบตรวจหาต้นตอเพื่อการรักษาและดูแลอาการอย่างถูกต้องต่อไป

สาเหตุ:

การแพ้อาหารแฝง เกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่มี 2 สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ

• ร่างกายขาดเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการย่อยอาหารนั้นๆ ทำให้ไม่สามารถย่อยและดูดซึมไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

• ร่างกายไวต่อสารบางชนิดในอาหาร เช่น สารปรุงแต่ง หรือสารที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติในอาหาร อาการจะมีมากขึ้นเมื่อรับประทานอาหารชนิดนั้นมากเกินไป

อาการที่พบบ่อย:

• ท้องอืด

• ท้องผูก

• ปวดท้อง

• ท้องเสีย

• ปวดศีรษะ

• ไอ

• น้ำมูกไหล

• ครั่นเนื้อครั่นตัว

• อ่อนเพลีย

• มีผื่นคัน

• ลมพิษ

แม้อาการเหล่านี้อาจเป็นได้ทั้งจากภูมิแพ้อาหารแฝงและปัญหาสุขภาพอื่น ๆ แต่หากมีอาการบ่อย ๆ หรือรุนแรง ควรพบแพทย์เพื่อรักษา

วิธีตรวจอาการแพ้อาหารแฝงด้วยตัวเอง:

• จดบันทึกรายการอาหารที่รับประทานและอาการที่เกิดขึ้นหลังจากนั้น

• งดรับประทานอาหารที่สงสัยว่า อาจเป็นสาเหตุทีละชนิด ราว 2-6 สัปดาห์

• กลับไปรับประทานอาหารชนิดนั้นอีกครั้ง หากกลับมามีอาการ ก็เป็นไปได้ว่าสาเหตุมาจากอาหารชนิดนั้น

นอกจากนี้ยังสามารถเข้ารับการตรวจเลือดหาภูมิคุ้มกันในเลือดที่จำเพาะต่ออาหารแต่ละชนิด (Food specific IgG) เพื่อช่วยระบุชนิดอาหารที่มีความเป็นไปได้ที่จะทำให้เกิดภาวะภูมิแพ้อาหารแฝงได้

หมายเหตุ:

• หลังจากได้รับผลการทดสอบแล้วนั้น สามารถนำผลที่ได้มาปรับใช้เลือกกินอาหารที่เหมาะสม เพื่อลดอาหารที่ส่งเสริมอาการแพ้

• ไม่ใช่โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี จึงไม่จำเป็นต้องตรวจทุกปี และ ตรวจเช็คร่างกาย และตรวจเลือด 6 รายการ เพื่อประเมินระดับความเสื่อมของร่างกาย  ประเมินความเสี่ยงในการป่วยเป็นโรคที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต เหมาะสำหรับเป็นโปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี ที่ Bangkok Wellness Medical Clinic"

"มีรายการตรวจดังนี้: 

1. ข้าวบาร์เลย์

2. แป้งไกลอะดิน

3. ข้าวโอ๊ต

4. แป้งไรย์

5. แป้งสเปลท์

6. ข้าวสาลี

7. แป้งบักวีท

8. เมล็ดแฟลกซ์

9. ข้าวโพด

10. ข้าวฟ่าง (ข้าวเดือย)

11. ข้าวเจ้า

12. เนื้อวัว

13. เนื้อไก่

14. เนื้อแกะ

15. เนื้อหมู

16. ไก่งวง

17. นมวัว

18. ไข่แดง

19. ไข่ขาว

20. ชีสแพะ

21. นมแพะ

22. นมแกะ

23. ชีสแกะ

24. โยเกิร์ต

25. มะเขือม่วง

26. หัวบีทรูท

27. พริกหยวก

28. บรอกโคลี

29. แครอท

30. ผักขึ้นฉ่าย

31. พริก

32. แตงกวา

33. ฮอสแรดิช (วาซาบิเทียม)

34. ต้นหอมญี่ปุ่น

35. มะกอก

36. หัวหอม

37. มันฝรั่ง

38. กะหล่ำปลีแดง

39. มะเขือเทศ

40. หัวผักกาด

41. บวบ

42. อาร์ติโชก

43. หน่อไม้ฝรั่ง

44. ผักโขม

45. ถั่วแขก

46. ถั่ว

47. ถั่วเหลือง

48. ถั่วเลนทิล (เมล็ดกลมแบนขนาดเล็ก)

49. ถั่วขาว

50. ผักกาดหอม

51. คอร์นสลัด

52. แอปเปิล

53. ผลแอปปริคอต

54. กล้วย

55. เชอร์รี่

56. องุ่น

57. กีวี่

58. มะนาว

59. ลูกท้อ

60. ส้ม

61. สับปะรด

62. สตรอเบอร์รี่

63. แตงโม

64. ลูกแพร์

65. ลูกพลัม

66. ส้มชนิดหนึ่งตระกูลส้มโอ

67. ลูกพีช

68. ผลอินทผลัม

69. ใบโหระพา

70. พริกไทยดำ/ขาว

71. อบเชย

72. กระเทียม

73. เมล็ดมัสตาร์ด

74. ลูกจันทน์เทศ

75. ออริกาโน

76. พาร์สเลย์ และผักชี

77. ใบสะระแหน่

78. เมล็ดป๊อปปี้

79. โรสแมรี่

80. ไธม์

81. วานิลลา

82. ถั่วอัลมอนด์

83. มะม่วงหิมพานต์

84. เมล็ดโกโก้

85. ถั่วเฮเซล

86. ถั่วลิสง

87. ถั่วพิสตาชิโอ

88. งา

89. เมล็ดทานตะวัน

90. ถั่ววอลนัต

91. มะพร้าว และเนื้อมะพร้าว

92. เห็ดผสม เห็ดนางรม เห็ดฟาง เห็ดหอม และเห็ดชองเทอเรลล์

93. เห็ดผสม (Bay Boletus, Boletus)

94. กุ้ง

95. ปลาแซลมอน

96. ปลาทูน่า

97. หอยกาบ

98. กุ้ง

99. ปลาแอนโชวี่

100. ปลาฉนาก

101. ปลาเทราต์

102. ปลาตาเดียว และปลาลิ้นหมา

103. ปลาค็อด

104. ยีสต์สำหรับหมักเครื่องดื่ม

105. ยีสต์สำหรับทำขนมปัง

106. น้ำผึ้ง

107. กาแฟ

108. ชาดำ

109. เมล็ดแครอบ (คล้ายโกโก้ใช้ทำขนม แทนช็อคโกแลต)

110. น้ำมันจากดอกเรปซีด

111. เนื้อเป็ด

112. เนื้อแพะ

113. เนื้อห่าน

114. เนื้อนกกระจอกเทศ

115. เนื้อนกกระทา

116. เนื้อกระต่าย

117. เนื้อกวางตัวเมีย

118. ไก่ต๊อก

119. เนื้อม้า

120. นมหมักมีรสเปรี้ยว

121. เบต้าแลคโตกลอบูลิน (พบในนมวัว)

122. เนย

123. เนยแข็งคาเมมเบิร์ต

124. เคซีน โปรตีนในนมวัว

125. ชีสชนิดเอมเมนทอล

126. ชีสชนิดคอตเตจ

127. ชีสชนิดมอสซาเรลล่า

128. ชีสแปรรูป

129. ชีสนมเปรี้ยว

130. หน่อไม้

131. พืชตระกูลกะหล่ำปลี

132. กะหล่ำดอก

133. ผักชาร์ด

134. ผักกาดขาว

135. เฟนเนล

136. พืชตระกูลบวบ

137. ทานตะวัน และแห้วบัวตอง

138. ผักเคล

139. หัวไชเท้า

140. กะหล่ำปลีใบย่น

141. มันเทศ

142. ใบองุ่น

143. กะหล่ำปลีขาว

144. หอมแดง

145. ชะเอม

146. ถั่วลันเตา

147. ถั่วปากอ้า

148. ถั่วชิคพี

149. ถั่วเขียว (ที่นำมาเพาะถั่วงอก)

150. ถั่วแดง

151. ผักชิโคลี

152. ผักกาดแก้ว

153. ผักรอกเก็ต (ใช้ทำสลัด)

154. อะโวคาโด

155. แบล็กเบอร์รี่

156. บลูเบอร์รี่

157. แครนเบอร์รี่

158. เรดเคอร์แรนต์

159. แบล็กเคอร์เรนต์

160. มะเดือฝรั่ง

161. กูสเบอร์รี่

162. เมล่อนฮันนี่ดิว

163. มะนาว

164. ลิ้นจี่

165. มะม่วง

166. มะละกอ

167. ทับทิม

168. ราสเบอร์รี่

169. โรสฮิพ ผลกุหลาบป่า

170. แคนตาลูป

171. ลูกเกด

172. เมล็ดผักชี

173. ใบกระวาน

174. ดอกคาโมมายด์ และเก๊กฮวย

175. เมล็ดเคเปอร์

176. ใบกุยช่าย และต้นกุยช่าย

177. กานพลู

178. ใบผักชี

179. ยี่หร่า

180. ผักชีลาว

181. ขิง

182. มาเจอรัม

183. หญ้าฝรั่น

184. ผกากรอง (เสจ)

185. พริกป่น

186. เครื่องแกง

187. ใบทารากอน

188. ใบฮอพส์

189. สะระแหน่ ใบมินต์

190. ถั่วบราซิล

191. ถั่วแมคคาเดเมีย

192. ลูกสน

193. เกาลัด

194. ถั่วโคล่า

195. ปลาคาร์พ

196. ปลาหมึกกล้วย

197. ปลาไหล

198. ปลาทรายแดง

199. ปลาแฮดดัก

200. ปลาไพด์

201. ปลาเทเบิล

202. ปลาแฮริ่ง

203. กุ้งล็อบสเตอร์

204. ปลาแมกเคอเรล

205. ปลาหมึกสาย

206. หอยนางรม

207. ปลาซาร์ดีน

208. ปลากะพงแดง

209. ปลากะพง

210. ไข่ปลาคาเวียร์

211. ปู

212. วุ้น ผงวุ้น

213. ว่านหางจระเข้

214. ชาเขียว

215. ผงฟู

216. น้ำมันดอกคำฝอย

 

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ:

• ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่ควรอดนอน

• ไม่ต้องงดน้ำ งดอาหารก่อนตรวจ

• ควรสวมเสื้อที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน

 

ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ: 

• การตรวจภูมิแพ้อาหารแฝงไม่ได้เป็นการวินิจฉัยโรค เป็นเพียงทางเลือกหนึ่งในการดูแลสุขภาพ ช่วยให้เลือกหรือปรับการรับประทานอาหารได้อย่างเหมาะสม

 

ภูมิแพ้แบบแฝง (Food Intolerance)

เป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถย่อยอาหารบางชนิดได้ตามปกติ แต่จะไม่แสดงอาการทันที จึงไม่สามารถระบุชนิดอาหารที่แพ้ได้ ต่างจากการแพ้ปกติที่แสดงอาการให้เห็นในเวลาอันสั้น แม้การแสดงออกของการแพ้อาหารแบบแฝงจะไม่รุนแรง แต่ก็ทำให้เกิดอาการเรื้อรังอื่นๆ ได้ จึงควรรีบตรวจหาต้นตอเพื่อการรักษาและดูแลอาการอย่างถูกต้องต่อไป

 

สาเหตุ: 

การแพ้อาหารแฝง เกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่มี 2 สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ

• ร่างกายขาดเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการย่อยอาหารนั้นๆ ทำให้ไม่สามารถย่อยและดูดซึมไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

• ร่างกายไวต่อสารบางชนิดในอาหาร เช่น สารปรุงแต่ง หรือสารที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติในอาหาร อาการจะมีมากขึ้นเมื่อรับประทานอาหารชนิดนั้นมากเกินไป

 

อาการที่พบบ่อย:

• ท้องอืด

• ท้องผูก

• ปวดท้อง

• ท้องเสีย

• ปวดศีรษะ

• ไอ

• น้ำมูกไหล

• ครั่นเนื้อครั่นตัว

• อ่อนเพลีย

• มีผื่นคัน

• ลมพิษ

แม้อาการเหล่านี้อาจเป็นได้ทั้งจากภูมิแพ้อาหารแฝงและปัญหาสุขภาพอื่น ๆ แต่หากมีอาการบ่อย ๆ หรือรุนแรง ควรพบแพทย์เพื่อรักษา

 

วิธีตรวจอาการแพ้อาหารแฝงด้วยตัวเอง:

• จดบันทึกรายการอาหารที่รับประทานและอาการที่เกิดขึ้นหลังจากนั้น

• งดรับประทานอาหารที่สงสัยว่า อาจเป็นสาเหตุทีละชนิด ราว 2-6 สัปดาห์

• กลับไปรับประทานอาหารชนิดนั้นอีกครั้ง หากกลับมามีอาการ ก็เป็นไปได้ว่าสาเหตุมาจากอาหารชนิดนั้น

นอกจากนี้ยังสามารถเข้ารับการตรวจเลือดหาภูมิคุ้มกันในเลือดที่จำเพาะต่ออาหารแต่ละชนิด (Food specific IgG) เพื่อช่วยระบุชนิดอาหารที่มีความเป็นไปได้ที่จะทำให้เกิดภาวะภูมิแพ้อาหารแฝงได้

 

หมายเหตุ:

• หลังจากได้รับผลการทดสอบแล้วนั้น สามารถนำผลที่ได้มาปรับใช้เลือกกินอาหารที่เหมาะสม เพื่อลดอาหารที่ส่งเสริมอาการแพ้

• ไม่ใช่โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี จึงไม่จำเป็นต้องตรวจทุกปี

 

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?
• ค่าตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 222 ชนิด ด้วยวิธีเจาะเลือด แบบบริการถึงบ้าน มีรายการตรวจดังนี้
• ค่าแพทย์
• ค่าบริการคลินิก
• ค่าเล่มรายงานผล และการ์ดการแพ้รุนแรงสำหรับพกติดตัว

ค่าโปรแกรมตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 222 ชนิด มีรายการตรวจดังนี้
ผงวุ้น (Agar Agar)
สาหร่ายเอสสปาเก็ตตี้ (Alga Espaguette)
สาหร่ายสไปรูลิน่า (Alga Spirulina)
สาหร่ายวากาเมะ (Alga Wakame)
เมล็ดอัลมอนด์ (Almond)
หางจระเข้ (Aloe Vera)
อัลฟ่า-แลคตาบูมิน หรือโปรตีนที่มีส่วนผสมในนม (Alpha-Lactalbumin)
ผักโขม (Amaranth)
ปลาแอนโชวี (Anchovy)
เมล็ดผักชี (Aniseed)
แอปเปิ้ล (Apple)
ผลแอปริคอต (Apricot)
อาร์ติโชก (Artichoke)
หน่อไม้ฝรั่ง (Asparagus)
มะเขือม่วง (Aubergine)
อะโวคาโด (Avocado)
กล้วย (Banana)
ข้าวบารเ์ลย์ที่ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตเหล้าและเบียร์ (Barley)
เพรียง (Barnacle)
ใบโหระพา (Basil)
ปลากระพง (Seabass)
ใบกระวาน (Bayleaf)
ถั่วปากอ้า (Broad Bean)
ถั่วแขก (Green Bean)
ถั่วแดง (Red Kidney Bean)
ถั่วขาว (White Haricot Bean)
เนื้อวัว (Beef)
หัวบีทรูท (Beetroot)
เบต้า แลกโตโกลบูลิน (Beta-Lactoglobulin)
แบล็กเบอร์รี (Blackberry)
แบล็กเคอร์เรนต์ (Blackcurrant)
บลูเบอร์รี (Blueberry)
ถั่วบราซิล (Brazil Nut)
บร็อกโคลี (Broccoli)
กะหล่ำดาว (Brussel Sprout)
ข้าวบัควีต (Buckwheat)
กะหล่ำปลีแดง (Red Cabbage)
กะหล่ำปลี (White Cabbage)
เก๊กฮวย (Camomile)
อ้อย (Cane Sugar)
เมล็ดเคเปอร์ (Caper)
เมล็ดแครอบ (Carob)
ปลาคาร์ป (Carp)
แครอต (Carrot)
เคซีน หรือโปรตีนจากนม (Casein)
มะม่วงหิมพานต์ (Cashew Nut)
กะหล่ำดอก (Cauliflower)
ไข่ปลาคาเวียร์ (Caviar)
พริกคาเยน (Cayenne)
ผักชีฝรั่ง (Celery)
ผักชาร์ด (Chard)
ผลเชอร์รี (Cherry)
เกาลัด (Chestnut)
เนื้อไก่ (Chicken)
ถั่วชิกพี (Chickpea)
ผักชิโครี (Chicory)
พริกแดง (Chili)
อบเชย (Cinnamon)
หอยกาบ (Clam)
กานพลู (Clove)
หอยแครง (Cockle)
เมล็ดโกโก้ (Cocoa Bean)
มะพร้าว เนื้อมะพร้าว (Coconut)
ปลาคอด (Cod)
กาแฟ (Coffee)
ถั่วโคล่า (Cola Nut)
ใบผักชีฝรั่ง (Coriander-Leaf)
ข้าวโพด (Corn/Maize)
คูสคูส (Couscous)
เนื้อปู (Crab)
แครนเบอร์รี (Cranberry)
แตงกวา (Cucumber)
ยี่หร่า (Cumin)
เครื่องแกง (Mixed Spices)
หมึกกระดอง (Cuttlefish)
ผลอินทผาลัม (Date)
ผักชีลาว (Dill)
เนื้อเป็ด (Duck)
ข้าวสาลีดูรัม (Durum Wheat)
ปลาไหล (Eel)
ไข่ขาว (Egg White)
ไข่แดง (Egg Yolk)
ใบเฟนเนล (Fennel-Leaf)
มะเดื่อฝรั่ง (Fig)
เมล็ดป่าน (Flax Seed)
กระเทียม (Garlic)
ขิง (Ginger)
แปะก๊วย (Ginkgo)
โสม (Ginseng)
แป้งไกลอะดิน (Gliadin)
เนื้อแพะ (Goat)
องุ่นดำ องุ่นแดง องุ่นเขียว (Grape: Black, Red, White)
เกรปฟรุต (Grapefruit)
ฝรั่ง (Guava)
ปลาแฮดด็อก (Haddock)
ปลาเฮก (Hake)
ถั่วเฮเซล (Hazelnut)
ปลาแฮร์ริง (Herring)
น้ำผึ้ง (Honey)
ลูกฮอปส์ ใช้ในการผลิตเบียร์ (Hops)
เนื้อม้า (Horse)
ผลกีวี (Kiwi)
เนื้อแกะ (Lamb)
ต้นหอมญี่ปุ่น (Leek)
มะนาวเหลือง (Lemon)
ถั่วเลนทิล (Lentil)
ผักกาดหอม (Lettuce)
มะนาว (Lime)
ชะเอม (Liquorice)
กุ้งมังกร (Lobster)
ลิ้นจี่ (Lychee)
ถั่วแมคคาเดเมีย (Macadamia Nut)
ปลาแมกเคอเรล (Mackerel)
ข้าวมอลต์ (Malt)
มะม่วง (Mango)
มาร์เจอแรม เป็นพืชจำพวกมินต์ (Marjoram)
แฟง เป็นผักตระกูลน้ำเต้า (Marrow)
เมลอน ได้แก่ แตงไทย แคนตาลูป (Melon: Galia, Honeydew)
นมควาย (Buffalo Milk)
นมวัว (Cow Milk)
นมแพะ (Goat Milk)
นมแกะ (Sheep Milk)
ข้าวฟ่าง (Millet)
ใบมินต์ (Mint)
ปลามังก์ (Monkfish)
ผลมัลเบอร์รี (Mulberry)
เห็ด (Mushroom)
หอยแมลงภู่ (Mussel)
เมล็ดมัสตาร์ด (Mustard Seed)
ลูกท้อ (Nectarine)
ตำแย (Nettle)
ลูกจันทน์เทศ (Nutmeg)
ข้าวโอ๊ด (Oat)
ปลาหมึกยักษ์ (Octopus)
มะกอก (Olive)
หัวหอม (Onion)
ส้ม (Orange)
นกกระจอกเทศ (Ostrich)
เนื้อวัว (Ox)
หอยนางรม (Oyster)
มะละกอ (Papaya)
พาร์สลีย์ (Parsley)
นกกระทาดง (Partridge)
ถั่วลันเตา (Pea)
ลูกพีช (Peach)
ถั่วลิสง (Peanut)
ลูกแพร์ (Pear)
พริกหยวกสีเขียว สีแดง สีเหลือง (Pepper: Green, Red, Yellow)
พริกไทยดำ พริกไทยขาว (Peppercorn: Black, White)
ใบสะระแหน่ (Peppermint)
ปลากระพงขาว (Perch)
ปลาไพก์ (Pike)
ลูกสน (Pine Nut)
สัปปะรด (Pineapple)
ถั่วพิสตาชิโอ (Pistachio)
ปลาลิ้นหมา (Plaice)
ลูกพลัม (Plum)
โพเลนต้า (Polenta)
ทับทิม (Pomegranate)
เนื้อหมู (Pork)
มันฝรั่ง (Potato)
เนื้อนกกระทา (Quail)
ควินัว (Quinoa)
เนื้อกระต่าย (Rabbit)
หัวไชเท้า (Radish)
ลูกเกด (Raisin)
เรปซีด (Rapeseed)
ราสเบอร์รี (Raspberry)
หอยหลอด (Razor Clam)
เรดเคอร์แรนต์ (Redcurrant)
รูบาร์บ (Rhubarb)
ข้าวจ้าว (Rice)
ผักร็อกเก็ต (Rocket)
โรสแมรี (Rosemary)
แป้งไรย์ (Rye)
หญ้าฝรั่น (Saffron)
เมล็ดเสจ (Sage)
ปลาแซลมอน (Salmon)
ปลาซาร์ดีน (Sardine)
หอยเชลล์ (Scallop)
ปลาทรายขาว (Gilthead)
ปลาทรายแดง (Sea Bream-Red)
งา (Sesame Seed)
หอมแดง (Shallot)
กุ้ง (Shrimp/Prawn)
ปลาตาเดียว (Sole)
ถั่วเหลือง (Soya Bean)
แป้งสเปลต์ (Spelt)
ปวยเล้ง (Spinach)
สควอช หรือบัตเตอร์นัท (Squash: Butternut/Carnival)
หมึกกล้วย (Squid)
สตรอว์เบอร์รี (Strawberry)
เมล็ดทานตะวัน (Sunflower Seed)
มันเทศ (Sweet Potato)
ปลาฉนาก (Swordfish)
ส้มจีน (Tangerine)
แป้งมันสำปะหลัง (Tapioca)
ใบทาร์รากอน (Tarragon)
ชาดำ (Black Tea)
ชาเขียว (Green Tea)
ไธม์ (Thyme)
แห้วไทย (Tiger Nut)
มะเขือเทศ (Tomato)
ทรานส์กลูตามิเนส (Transglutaminase)
ปลาเทราต์ (Trout)
ปลาทูน่า (Tuna)
ปลาเทอร์บอต (Turbot)
ไก่ง่วง (Turkey)
หัวผักกาด (Turnip)
วานิลลา (Vanilla)
เนื้อลูกวัว (Veal)
เนื้อกวาง (Venison)
ถั่ววอลนัต (Walnut)
วอเตอร์เครส (Watercress)
แตงโม (Watermelon)
ข้าวสาลี (Wheat)
ราข้าวสาลี (Wheat Bran)
เนื้อหมูป่า (Wild Boar)
หอยโข่ง (Winkle)
ยีสต์สำหรับทำขนมปัง (Baker’s yeast)
บริเวอร์ยีสต์ สำหรับใช้กับเครื่องดื่ม (Brewer’s yeast)
มันสำปะหลัง (Yuca)

รายละเอียดการให้บริการ
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-60 นาที
• ทราบผลการตรวจประมาณ 7-14 วันหลังรับบริการ
• ผู้รับบริการจะต้องเข้ามาพบแพทย์และผู้เชี่ยวชาญ ทั้งหมด 2 ครั้ง
- ครั้งแรก เจาะเลือดเพื่อส่งไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการพิเศษ และตรวจสแกนร่างกาย 8 ระบบ ด้วยเครื่อง EIS
- ครั้งที่สอง ฟังการวิเคราะห์ผลเลือดและปรึกษาแพทย์ (ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม)
• หากมีการดามเหล็กในร่างกาย หรือทำบอลลูนหัวใจ จะไม่สามารถตรวจร่างกายในส่วนของการสแกนร่างกายได้

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• ควรนอนพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6 ชั่วโมง ก่อนตรวจ
• งดเครื่องดื่มและอาหาร อย่างน้อย 8-10 ชั่วโมงก่อนตรวจ สามารถจิบน้ำเปล่าได้เล็กน้อย
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ
• หากมีโรคประจำตัวหรือประวัติสุขภาพอื่นๆ กรุณานำผลการตรวจหรือรายงานจากแพทย์มาด้วยเพื่อประกอบการวินิจฉัย
• ควรสวมเสื้อผ้าที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน

รบกวนกรอบข้อมูลรายละเอียด บริการตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 222 ชนิด นอกสถานที่
1. สถานที่ที่ต้องการรับบริการ หรือ Location : 
2. วันที่ต้องการรับบริการ :
3. เวลาที่ต้องการรับบริการ :
4. ชื่อ-สกุลผู้รับบริการ : 
5. เบอร์มือถือ : 
6. วัน/เดือน/ปีเกิด : 
7. อีเมล :

โปรแกรมตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 222 ชนิด เช่น กลุ่มผลิตภัณฑ์จากนมและไข่ ธัญพืชกลุ่มมีกลูเตน ธัญพืชกลุ่มไม่มีกลูเตน ผัก ผลไม้ ข้าวสาลี สมุนไพรและเครื่องเทศ ถั่ว พืชเมล็ด โปรแกรมตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 222 ชนิด เช่น กลุ่มผลิตภัณฑ์จากนมและไข่ ธัญพืชกลุ่มมีกลูเตน ธัญพืชกลุ่มไม่มีกลูเตน ผัก ผลไม้ ข้าวสาลี สมุนไพรและเครื่องเทศ ถั่ว พืชเมล็ด และอื่นๆ

ข้อมูลการตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 

ภูมิแพ้แบบแฝง (Food Intolerance) เป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถย่อยอาหารบางชนิดได้ตามปกติ แต่จะไม่แสดงอาการทันทีจึงไม่สามารถระบุชนิดอาหารที่แพ้ได้ ต่างจากการแพ้ปกติที่แสดงอาการให้เห็นในเวลาอันสั้น แม้การแสดงออกของการแพ้อาหารแบบแฝงจะไม่รุนแรง แต่ก็ทำให้เกิดอาการเรื้อรังอื่นๆ ได้ จึงควรรีบตรวจหาต้นตอเพื่อการรักษาและดูแลอาการอย่างถูกต้องต่อไป

แม้จะเกิดขึ้นได้จากหลากหลายสาเหตุ แต่มี 2 สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ

1.ร่างกายขาดเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการย่อยอาหารนั้นๆ ทำให้ไม่สามารถย่อยและดูดซึมไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2.ร่างกายไวต่อสารบางชนิดในอาหาร เช่น สารปรุงแต่ง หรือสารที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติในอาหาร อาการจะมีมากขึ้นเมื่อรับประทานอาหารชนิดนั้นมากเกินไป

อาการที่พบบ่อย

- ท้องอืด

- ท้องผูก

- ปวดท้อง

- ท้องเสีย

- ปวดศีรษะ

- ไอ

- น้ำมูกไหล

- ครั่นเนื้อครั่นตัว

- อ่อนเพลีย

- มีผื่นคัน

- ลมพิษ

แม้อาการเหล่านี้อาจเป็นได้ทั้งจากภูมิแพ้อาหารแฝงและปัญหาสุขภาพอื่นๆ แต่หากมีอาการบ่อยๆ หรือรุนแรง ควรพบแพทย์เพื่อรักษา

*ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็คเกจนี้

- ระยะเวลาในการรับบริการประมาณ 30-60 นาที

- ควรนัดหมายล่วงหน้า

- ทราบผลการตรวจประมาณ 7-14 วันหลังรับบริการ หลังผลออก จะได้เป็นเล่มรายงานผล ลูกค้าสามารถมารับที่สาขา หรือ ส่งผลทางเมล/ไปรษณีย์

*การเตรียมตัวก่อนรับบริการ

- ควรนอนพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6 ชั่วโมง ก่อนตรวจ

- งดรับประทานยาแก้แพ้และสเตียรอยด์ก่อนตรวจ อย่างน้อย 10-14 วัน

- ควรสวมเสื้อผ้าที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน

*การดูแลหลังรับบริการ

- หลังได้รับผลการทดสอบแล้ว สามารถนำผลที่ได้มาปรับใช้เพื่อเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม

*ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ

- หากเป็นผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง สามารถเข้ารับบริการได้เลย

- หากเป็นผู้ที่มีอาการแพ้และรับประทานยาแก้แพ้หรือสเตียรอยด์อยู่ ควรพบแพทย์เพื่อประเมินความจำเป็นในการหยุดยา ขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของอาการแพ้ในแต่ละคน

- ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังจะมีอาการดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด เมื่อหยุดอาหารที่ร่างกายต่อต้านไประยะหนึ่ง

***หมายเหตุ หลังจากได้รับผลการทดสอบแล้วนั้น สามารถนำผลที่ได้มาปรับใช้เลือกกินอาหารที่เหมาะสม เพื่อลดอาหารที่ส่งเสริมอาการแพ้ไม่ใช่โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี จึงไม่จำเป็นต้องตรวจทุกปี**

ตรวจจภูมิแพ้อาหารและอากาศ 36 ชนิด Allergy (IgE) 36 

วัคซีน HPV

โปรแกรมฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก 9 สายพันธุ์ 3 เข็ม ฟรี โปรแกรมตรวจสุขภาพ BWM QUICK Check Up +Lab25 Items และตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย Bio Body Scan ด้วยเครื่อง EIS 8 รายการ

วัคซีน HPV ป้องกันมะเร็งปากมดลูก ชนิด 9 สายพันธุ์ 3 เข็ม สำหรับผู้ที่อายุ 15 ปีขึ้นไป
ตรวจสุขภาพทั่วไป 33 รายการ โปรแกรม BWM Quick Check Up Lab 25 รายการ มีรายการตรวจดังนี้
ตรวจคัดกรองโรคตับ (Albumin)
ตรวจคัดกรองโรคตับ ภาวะการติดเชื้อ (Globulin)
ตรวจคัดกรองค่าเอนไซม์ของตับ (Albumin/ Globulin Ratio)
ตรวจคัดกรองโรคตับ (Total Protein)
ตรวจคัดกรองโรคตับและภาวะดีซ่าน (Direct Bilirubin)
ตรวจคัดกรองโรคตับและภาวะดีซ่าน (Indirect Bilirubin)
ตรวจคัดกรองโรคตับและทางเดินน้ำดี (Total Bilirubin)
ตรวจคัดกรองโรคตับและทางเดินน้ำดี (Total Bile Acid)
ตรวจคัดกรองโรคตับและการอักเสบของกล้ามเนื้อ (AST)
ตรวจคัดกรองโรคตับและการอักเสบภายในร่างกาย (ALT)
ตรวจคัดกรองโรคตับ, ทางเดินน้ำดี และกระดูก (ALP)
ตรวจการทำงานของตับอ่อน (Amylase)
การตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (Glucose)
ตรวจระดับไขมันคอเรสเตอรอลในเลือด (Cholesterol)
ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด (Triglycerides)
ตรวจระดับไขมันชนิดดีในเลือด (HDL – Cholesterol)
ตรวจระดับไขมันชนิดไม่ดีในเลือด (LDL – Cholesterol)
ตรวจระดับการทำงานของไต (Blood Urea Nitrogen)
ตรวจระดับการทำงานของไต (Creatinine)
ตรวจประเมินประสิทธิภาพของไต (BUN/ Creatinine Ratio)
ตรวจประเมินประสิทธิภาพของไต (GFR)
ตรวจคัดกรองโรคตับและไต (Gamma - GT)
ตรวจคัดกรองภาวะโรคเกาต์ (Uric Acid)
ตรวจระดับคลอรีนเอสเตอเรส (Cholinesterase)
ตรวจคัดกรองโรคกล้ามเนื้ออักเสบ (Total CK)

ตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย Bio Body Scan ด้วยเครื่อง Electro Interstitial Scan (EIS) 8 รายการ มีรายการตรวจดังนี้
1. ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด (EIS)
2. ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ (EIS)
3. ตรวจสแกนระบบขับถ่าย และระบบสืบพันธุ์ (EIS)
4. ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ (EIS)
5. ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ (EIS)
6. ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร (EIS)
7. ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง (EIS)
8. ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร (EIS)
แจ้งผลโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ชำนาญการ (Doctor Consultantation)

1 .ระยะเวลารับริการฉีดวัคซีนประมาณ 30 นาที ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
2. ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ
3. ชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้
4. กรณีต้องการใบรับรองแพทย์ให้แจ้งเจ้าหน้าที่พร้อมวันทำนัด

การตรวจสุขภาพโดยใช้วิธีการเจาะเลือด และตรวจสแกนร่างกายด้วยเทคโนโลยี Electro Interstitial Scan โดยการส่งกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ เข้าสู่ร่างกาย เพื่อวัดความต้านทานของน้ำที่อยู่ระหว่างเซลล์แต่ละอวัยวะ
หากมีการดามเหล็กในร่างกาย หรือทำบอลลูนหัวใจ จะไม่สามารถตรวจร่างกายในส่วนของการสแกนร่างกายได้

ข้อควรรู้เกี่ยวกับวัคซีน ชนิด9สายพันธุ์
วัคซีนHPV มีประโยชน์ในการป้องกันการติดเชื้อHPV ชนิดก่อมะเร็ง ซึ่งทำให้เกิดโรคมะเร็งปากมดลูกในผู้หญิงและมะเร็งชนิดอื่นๆ ทั้งในเพศชายและเพศหญิง และวัคซีนชนิด9สายพันธุ์ สามารถป้องกันการติดเชื้อ HPV ชนิดไม่ก่อมะเร็ง ได้แก่ โรคหูดหงอนไก่บริเวรอวัยวะเพศ และทวารหนัก ซึ่งพบได้ทั้งในผู้หญิงและผู้ชาย โดยเฉพาะผู้ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับผู้ชาย แะนำให้ฉีดวัคซีนHPV เมื่อไหร่ถึงจะดีที่สุด

การฉีดวัคซีนHPVก่อนมีเพศสัมพันธ์จะได้รับประโยชน์สูงสุด
ในเด็กอายุ 9-15ปี ร่างกายสามารถตอบสนองต่อการสร้างภูมิคุ้มกันจากวัคซีนHPV จำนวน2ครั้ง
(โดยฉีดเข็มที่2 ห่างจากเข็มแรก 6-12เดือน) ซึ่งแตกต่างจากผู้ใหญ่ที่อายุตั้งแต่15ปีขึ้นไป แนะนำให้ฉีดวัคซีนจำนวน 3 ครั้ง (เดือนที่ 0,1-2และ 6เดือน)
ดั้งนั้น การฉีดวัคซีน HPV ในเด็ดอายุ9-15ปี จึงเกิดประโยชน์สูงสุดและยังตอบสนองต่อการสร้างภูมิคุ้มกันจากวัคซีนได้ดี

ข้อควรปฏิบัติตัวอย่างไรก่อนฉีดวัคซีนHPV
การเตรียมตัวก่อนฉีดวัคซีนHPV
โดยทั่วไปก่อนมาฉีดวัคซีนไม่มีความจำเป็นต้องเตรียมตัวอะไรเป็นพิเศษหลังฉีดวัคซีนอาจจะมีอาการหน้ามืดเป็นลมได้ซึ่งอาจพบได้ในคนที่อดนอน มีอาการหิว หรือมีอาการเจ็บป่วย ซึ่งควรนอนพักผ่อนให้เพียงพอไว้ก่อนที่จะมาฉีดรับประทานอาหารตามปกติและไม่มีอาการเจ็บป่วยรุนแรงหากมีไข้หวัดท้องเสียเล็กน้อยมีประจำเดือนหรือแม้แต่มีอาการไข้ต่ำต่ำก็สามารถฉีดวัคซีนได้

ข้อห้ามในการฉีดวัคซีน HPV คือ การตั้งครรภ์
หากทราบภายหลังฉีดวัคซีนว่าเกิดการตั้งครรภ์ให้งดฉีดวัคซีนไปก่อนและฉีดวัคซีนต่อหลังคลอดให้ครบสามครั้งวัคซีนสามารถฉีดได้ในผู้หญิงที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ควรปฎิบัติตัวอย่างไรหลังฉีดวัคซีน HPV
การเตรียมตัวหลังฉีดวัคซีน HPV
หลังฉีดวัคซีนอาจมีอาการปวดบริเวณตำแหน่งที่ฉีดวัคซีนอยู่นานสองถึงสามวันหรือบางคนอาจเป็นนานถึง 1 สัปดาห์ได้บางคนอาจมีอาการหน้ามืดเป็นลมได้ส่วนอาการแพ้วัคซีนชนิดรุนแรงพบน้อยมากแนะนำให้เฝ้าดูอาการหลังฉีดวัคซีนในสถานพยาบาลนาน 15 ถึง 30 นาที
หากไม่มีอาการข้างเคียงใดๆ หลังจากฉีดวัคซีนสามารถใช้ชีวิตตามปกติเล่นกีฬาได้บริจากเลือดได้และสามารถดื่มแอลกอฮอล์ได้หลังจากฉีดวัคซีนหากมีอาการไข้อ่อนเพลียคลื่นไส้อาเจียนปวดแขนมากควรพักผ่อนและงดกิจกรรมข้างต้นนานสองถึงสามวันหรือเมื่ออาการเหล่านั้นหายไป

วัคซีนHPV เป็นวัคซีนชนิดเชื้อตาย หลังจากฉีดวัคซีนเชื้อ HPV ไม่ได้แพร่กระจายในกระแสเลือด ซึ่งแตกต่างจากชนิดเชื้อเป็น จึงสามารถบริจาคเลือดได้อย่างปลอดภัย

ฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก 9 สายพันธุ์ 3 เข็ม (ฟรี Bio Body Scan ตรวจสแกนอวัยวะภายใน 8 ระบบ)

ฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก 9 สายพันธุ์ 3 เข็ม (ฟรี Shock Wave ลดปวด ลดตึง 1 ครั้ง)

บริการทางการแพทย์อื่นๆ

รายละเอียด
โปรแกรมฟื้นฟูรักษาอาการปวดด้วยคลื่นอัลตราซาวด์ (Ultrasound Therapy) 1 ครั้ง
ระยะเวลารับบริการ 60 นาที

ควรนัดหมายเพื่อจองคิวล่วงหน้าก่อนรับบริการ
เป็นการส่งคลื่นเสียงความถี่สูงลงลึกไปยังชั้นเนื้อเยื่อ 2-4 เซนติเมตร เข้าไปรักษาในระดับที่ลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อและกระดูก เพื่อลดอาการปวด คลายกล้ามเนื้อที่เกร็ง รวมไปถึงเพิ่มความยืดหยุ่นให้กับข้อต่อในชั้นลึก
ควรศึกษาข้อมูลและปรึกษาแพทย์ก่อนรับบริการ

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
แจ้งให้แพทย์หรือเจ้าหน้าที่ทราบก่อนรับบริการ หากกำลังตั้งครรภ์ มีโรคประจำตัว ภาวะกระดูกบาง ภาวะกระดูกหัก ใส่เหล็ก หรือเครื่องกระตุ้นหัวใจอยู่
หากมีฟิล์มเอกซเรย์ ควรนำมาด้วยเพื่อประกอบการวินิจฉัยและรักษา
หากกำลังรับประทานยาสลายลิ่มเลือด มีโรคประจำตัว หรือมีอาการแพ้ยา ควรแจ้งให้แพทย์หรือเจ้าหน้าที่ทราบก่อนรับบริการ
งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่ 24 ชั่วโมงก่อนทำ
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง
สวมเสื้อผ้าที่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้สะดวก

การดูแลหลังรับบริการ
ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ เพราะอาจมีอาการอ่อนเพลียหลังจากรับบริการได้
ควรขยับร่างกายให้ไม่อยู่ในท่าเดิมนานๆ
ควรพบแพทย์ตามนัดเพื่อประเมินผลการรักษา และหากพบความผิดปกติก่อนวันนัด เช่น หนังตาตก ปวดศีรษะ ปวดคอ เห็นภาพซ้อน ตาแห้ง มีอาการแพ้หรือหายใจไม่สะดวก ควรติดต่อแพทย์ทันที

ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ
ตรวจสอบให้แน่ใจว่า ผู้ให้การรักษามีใบประกอบวิชาชีพกายภาพบำบัด
หากอาการของผู้รับบริการมีความจำเป็นต้องรักษาทางยาควบคู่กับการทำกายภาพบำบัด ควรทำตามคำแนะนำของนักกายภาพบำบัดควบคู่กับการปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร ไม่ควรรับประทานยาด้วยตัวเอง
ผลของการรักษาทางกายภาพบำบัดขึ้นกับปัจจัยหลายอย่าง เช่น อาการและความรุนแรงของอาการ อายุของผู้ป่วย เป็นต้น
กายภาพบำบัดเป็นศาสตร์ที่อาศัยการรักษาอย่างต่อเนื่อง การรักษาและระยะเวลาที่ใช้ในแต่ละครั้งอาจไม่เหมือนกัน
เทคนิคที่นักกายภาพบำบัดเลือกใช้ในผู้ป่วยอาการเดียวกันอาจแตกต่างกันได้ ขึ้นอยู่กับผลการซักประวัติ การตรวจร่างกาย และวัตถุประสงค์ของนักกายภาพบำบัด

ข้อห้ามสำหรับการทำกายภาพบำบัด
ผู้ที่ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ
ผู้ที่ใส่เหล็กที่ข้อกระดูกสันหลังส่วนคอหรือเอว
สตรีมีครรภ์
ผู้ที่มีไข้สูง
เป็นโรค SLE หรือแพ้ภูมิตัวเอง
มีแผลเปิดหรือผิวหนังติดเชื้อบริเวณที่ต้องการทำ

โปรแกรมฟื้นฟูอาการออฟฟิศซินโดรม โดยนักกายภาพ 1 ครั้ง
ประกอบด้วย
1. Physical Consult ปรึกษานักกายภาพเพื่อวางแผนการรักษาและฟื้นฟู
2. Hot/Cool Compress Massage การฟื้นฟูด้วยการประคบร้อน/เย็น
3. Physical Massage Therapy (Per Point) การนวดฟื้นฟูโดยเทคนิคทางกายภาพบำบัด
4. Joint Manipulation & Mobilization การยืดกล้ามเนื้อและการฟื้นฟูหลังทำหัตถการ
5. Office Syndrome Shockwave Therapy 2,000 Shot การรักษาด้วยคลื่นกระแทกความถี่สูง 2000 Shot
6. Therapeutic Exercise 1 ครั้ง สอนการออกกำลังกายทางกายภาพบำบัด 1 ครั้ง
7. Physical Yourself 1 ครั้ง สอนการปฎิบัติตัวหลังทำหัตถการและการทำกายภาพฯด้วยตนเองที่บ้าน

โปรแกรมฟื้นฟูและป้องกันภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ
ช่วยรักษา และฟื้นฟูภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ Erectile Dysfunction : ED ด้วยคลื่นพิเศษ Focused Shock Wave Therapy : FSWT เพื่อช่วยฟื้นฟูสุขภาพทางเพศของท่านชายให้กลับมาแข็งแรงดังเดิม โดยไม่ต้องใช้ยา ไม่ต้องผ่าตัด ไม่เจ็บปวด ปลอดภัย ไม่มีผลแทรกซ้อน

สาเหตุของภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ
ปัญหาภาวะการแข็งตัวของอวัยวะเพศชายไม่เต็มที่ โดยหลักการคือ มีเลือดไปเลี้ยงที่อวัยวะเพศไม่เพียงพอ อันเนื่องจากปัจจัยที่เป็นสาเหตุของอาการ เช่น อายุ ความเครียด สูบบุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ขาดการออกกำลังกาย ความผิดปกติของระบบประสาท โรคหัวใจ เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง โรคอ้วน ต่อมลูกหมากอักเสบ หรือเกิดจากยาบางชนิด เป็นต้น

FSWT เป็นเทคโนโลยีที่ใช้รักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพทางเพศของท่านชายโดยเฉพาะ ใช้หลักการส่งคลื่นพิเศษ (Shock Wave) พลังงานความรุนแรงต่ำเข้าไปยังบริเวณองคชาต เพื่อไปกระตุ้นกล้ามเนื้อ และช่วยกระตุ้นให้เกิดการสร้างเส้นเลือดฝอยขึ้นใหม่ในอวัยวะเพศ จึงส่งผลให้เพิ่มการไหลเวียนเลือดไปหล่อเลี้ยงได้มากขึ้น จึงทำให้การแข็งตัวกลับมาเป็นปกติดังเดิม

ใครควรรักษาด้วย FSWT ?
การรักษาได้ผลดีกับผู้ที่มีปัญหาภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศในระดับน้อย และระดับปานกลางและยังสามารถใช้รักษาต่อมลูกหมากอักเสบเรื้อรัง และอาการปวดในองคชาตจากพังผืดได้

ระยะเวลาการรักษาที่แนะนำ
ใช้เวลารักษาครั้งละ 30 นาที สัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ต่อเนื่อง 3-4 สัปดาห์ ขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของภาวะหย่อนสมรรถภาพ

ดีท็อกซ์ลำไส้

ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

ค่าโปรแกรมสวนล้างลำไส้ระบบปิด (Colon Hydrotherapy)

ค่าให้วิตามินทางหลอดเลือดแบบ Drip สูตร  Bio Syn 1 ครั้ง

ข้อควรรู้เกี่ยวกับการทำ Colon Hydrotherapy

ระยะเวลาในการรับบริการประมาณ 45-60 นาที

ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ

ช่วยขับของเสียล้างสารพิษที่ตกค้างในลำไส้

การดีท็อกซ์ (Detox)⠀มาจากคำว่า Detoxification หมายถึงการขจัดสารพิษและสิ่งแปลกปลอมออกไปจากร่างกาย สารพิษดังกล่าวอาจเกิดจากสารต่างๆ ที่ร่างกายได้รับในชีวิตประจำวันทำปฏิกิริยากับสารอื่นๆ ภายในร่างกายจนทำให้เกิดผลเสียต่อร่างกาย ปัจจุบัน การขจัดสารพิษด้วยการดีท็อกซ์ถือเป็นการแพทย์ทางเลือกอย่างหนึ่ง ซึ่งมีวิธีหรือสูตรที่หลากหลายแตกต่างกันไป

การดีท็อกซ์โดยการสวนลำไส้

การดีท็อกซ์แบบนี้ได้รับความนิยม โดยเชื่อว่าเป็นการนำของเสียที่ตกค้างในลำไส้ออกมาอย่างรวดเร็ว และทำให้ลำไส้สะอาด ช่วยกระตุ้นระบบขับถ่ายและป้องกันท้องผูกได้ แต่จะต้องทำโดยผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น โดยใช้อุปกรณ์เฉพาะสอดเข้าไปทางรูทวาร จากนั้นฉีดน้ำหรือสารบางอย่างเข้าไปเพื่อทำความสะอาดลำไส้ และกระตุ้นให้เกิดการขับถ่าย

ข้อดีของการดีท็อกซ์

• ช่วยกำจัดของเสียและสารพิษที่คั่งค้างภายในลำไส้

• ช่วยปรับสมดุลร่างกาย ฟื้นฟูระบบต่างๆ

• กระตุ้นการขับถ่าย แก้อาการท้องผูก

• กระตุ้นระบบเผาผลาญ ลดการสะสมของไขมัน เชื่อว่าช่วยให้รูปร่างดีขึ้นด้วย

• ช่วยให้ผิวพรรณสดใส เปล่งปลั่งขึ้น

ช่วยรักษาสมดุลแบคทีเรียที่ดีในลำไส้ และกระตุ้นการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน บรรเทาอาการภูมิแพ้ ด้วยปรแกรม Colon Hydrotherapy พร้อม IV Drip สูตร Myers cocktail

ไฮฟู่ (HIFU)

ทำความรู้จัก HIFU คืออะไร เจ็บไหม? อันตรายไหม? หลังยกกระชับผิวอยู่ได้นานไหม?
• HIFU หรือ High Intensity Focus Ultrasound เป็นหัตถการยกกระชับผิว ซึ่งสามารถทำได้ทั้งบริเวณใบหน้า, แก้ม, เหนียง, คอ รวมถึงต้นแขน ต้นขา และส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยใช้เครื่องเฉพาะเพื่อยกกระชับผิวและสัดส่วน กระตุ้นในการสร้างคอลลาเจน พร้อมทั้งยังช่วยลดเลือนริ้วรอยร่องตื้น โดยปัจจุบันการทำหัตถการ "ไฮฟู่" กำลังเป็นที่นิยมและผู้คนกำลังให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีคุณประโยชน์ที่หลากหลาย อีกทั้งหลังทำไม่ต้องพักฟื้นให้เสียเวลา ผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงจะเห็นทันทีหลังทำเสร็จ และจะเห็นผลอย่างชัดเจนหลังทำประมาณ 1 เดือน

• HIFU เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการยกกระชับผิว ปรับโครงหน้า หรือผู้ที่อยากเติมคอลลาเจนเข้าสู่ผิวโดยไม่ต้องผ่าตัด ไม่ต้องพักฟื้น
• ทำ HIFU 1 ครั้ง ผลลัพธ์จะอยู่ได้ประมาณ 4-6 เดือน ขึ้นอยู่กับเครื่องไฮฟู่ที่ใช้ ปัญหาผิว และการดูแลตนเองหลังทำหัตถการ
• ริ้วรอยหรือไขมันบางส่วนตามร่างกาย สามารถจัดการได้ด้วยเครื่อง HIFU เพราะไฮฟู่สามารถทำบริเวณร่างกายได้ เช่น หน้าท้อง ต้นแขน ต้นขา เป็นต้น
(ขณะทำ HIFU อาจรู้สึกตึงหรือปวดบริเวณใต้ชั้นผิวเล็กน้อยในระดับที่ทนได้)

ทำ HIFU ช่วยเรื่องอะไรบ้าง?
• สำหรับท่านใดที่อยากรู้ว่า "ไฮฟู่" ช่วยเรื่องอะไร? โดยทั่วไปแล้ว เมื่อมีอายุที่เพิ่มมากขึ้น ผิวหนังของเราก็จะเริ่มหย่อนคล้อยและขาดความกระชับ ส่งผลให้ใบหน้าของเราเริ่มมีร่องลึกตามจุดต่าง ๆ เช่น บริเวณใต้ตา ร่องแก้ม หรือร่องมุมปาก โดยสาเหตุเกิดจากการยืดออกของคอลลาเจนและอีลาสติน เครื่อง HIFU จึงมีคุณสมบัติในการยกกระชับผิว และสามารถกระตุ้นคอลลาเจนในทุกชั้นผิว และสร้างเนื้อเยื่อขึ้นมาใหม่ ซึ่งเนื้อเยื่อที่สร้างขึ้นใหม่นี้จะมีความกระชับและแน่นกว่าเดิม

• ลดความหย่อนคล้อยของผิว ใบหน้า และลำคอ
• ช่วยแก้ปัญหาชั้นไขมันใต้คาง แก้ม และเหนียง
• ช่วยแก้ปัญหาหนังตาตก ช่วยยกหางคิ้วขึ้น
• ช่วยแก้ปัญหาริ้วรอยบนผิวหน้า หน้าผาก และรอบดวงตา
• ช่วยยกกระชับผิวบริเวณร่างกายส่วนต่างๆ เช่น ต้นแขน หน้าท้อง เอว สะโพก และต้นขา เป็นต้น

HIFU มีกะบวนการทำงานอย่างไร?
• HIFU เป็นเทคโนโลยีการยกกระชับผิว มีกระบวนการทำงานโดยการส่งผ่านคลื่นโฟกัสอัลตราซาวนด์ลงไปในผิวชั้นลึก เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างคอลลาเจนใหม่ โดยเครื่อง HIFU ได้มาตรฐานผ่านการรับรอง จะต้องมีการปล่อยพลังงานความแรงอย่างสม่ำเสมอระหว่างยิงคลื่น ซึ่งในการทำหัตถการสามารถเลือกใช้หัวยิงให้เหมาะกับระดับผิวได้

นอกจากนี้ เครื่อง HIFU ยังมีหัวยิงที่หลากหลายตามระดับความลึกของชั้นผิว โดยสามารถแบ่งหัวยิงออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้
• ผิวชั้นบน (Upper Dermis) ใช้หัวความลึก 1.5-2.0 mm. ช่วยเรื่องการยกกระชับ ลดริ้วรอยในระดับที่ไม่ลึกมาก และช่วยกระตุ้นคอลลาเจน
• ผิวชั้นกลาง (Lower Dermis) ใช้หัวความลึก 3 mm. ช่วยยกกระชับใบหน้า ลดไขมันและเซลลูไลท์
• ผิวชั้นเยื่อหุ้มกล้ามเนื้อ (SMAS) เป็นชั้นที่ใช้ในการผ่าตัดดึงหน้าให้กระชับ ใช้หัวความลึก 4.5 mm. ช่วยกระชับกล้ามเนื้อและยกแก้มให้อิ่มฟูขึ้น

การทำหัตถการ HIFU ตำแหน่งใดได้บ้าง?
สามารถทำได้ทุกบริเวณที่ต้องการยกกระชับ เพราะมีหัวยิงไฮฟู่หลายระดับความลึก จึงสามารถช่วยยกกระชับผิวแต่ละตำแหน่งได้อย่างเห็นผล โดยบริเวณที่ทำแล้วเห็นผลลัพธ์ชัดเจน แบ่งออกเป็น 2 ส่วนได้แก่ 
• บริเวณใบหน้า : เหนียง คอ ร่องมุมปาก ร่องแก้ม พวงแก้ม ใต้ตา หน้าผาก เปลือกตาบน และกรอบหน้า
• บริเวณร่างกาย : ต้นแขน ต้นขา เอว หน้าท้อง และสะโพก

HIFU แต่ละตำแหน่งต้องใช้กี่ Line?
โดยทั่วไปแล้วจำนวนไลน์ Line ที่ใช้ในการทำ HIFU เจ้าหน้าที่ผู้ชำนาญการจะเป็นผู้พิจารณาจากตำแหน่งหรือความเหมาะสม รวมถึงปัญหาของสภาพผิว ความหย่อนคล้อย และจำนวนไลน์ของแต่ละบุคคลที่มีความแตกต่างกัน โดยเฉลี่ยแล้วจำนวน Line จะใช้ดังนี้

• ยกหางตา แก้ม หรือเหนียง (ประมาณ 120 Line)
• แก้ม และ เหนียง (ประมาณ 300 Line)
• ใต้ตา ร่องแก้ม เหนียง (ประมาณ 400 Line)
• ทั่วหน้า ลำคอ หรือต้นขา (ประมาณ 700 Line)

การทำ HIFU เจ็บไหม?
• การทำ HIFU เจ็บค่ะ! แต่อยู่ในระดับที่ทนได้ ซึ่งก่อนทำหัตถการจะมีการแปะยาชา เพื่อลดอาการเจ็บ ส่วนความรู้สึกในระหว่างทำคนไข้อาจรู้สึกปวดๆ ตึงๆ เพราะพลังงานที่ลงไปใต้ชั้นผิว หากสามารถทนเจ็บได้มาก ก็จะยิ่งส่งผลลัพธ์ที่ดีต่อการยกกระชับ

การทำ HIFU กี่วันถึงจะเห็นผล?
• การทำ HIFU สามารถเห็นผลการเปลี่ยนแปลงหลังทำได้ตั้งแต่ครั้งแรก ผิวยกกระชับขึ้น 30% หลังจากนั้นภายใน 1-2 เดือน จะค่อยๆกระชับมากขึ้นและเห็นผลชัดเจนเต็มที่ใน 4-6 เดือน หากต้องการให้ผิวกระชับขึ้นอีก สามารถทำหัตถการเพิ่มได้ทุกๆ 3 เดือน เพื่อให้เซลล์ Fibroblast ได้สร้างคอลลาเจน จากนั้นค่อยกลับมาทำซ้ำทุกๆ 6 เดือน เพื่อคงผลลัพธ์และป้องกันความหย่อนคล้อยในอนาคตได้ดียิ่งขึ้น

การทำ HIFU หน้าบวมกี่วัน?
• หลังทำ HIFU อาจมีอาการบวมเกิดขึ้นได้เป็นเรื่องปกติ โดยเฉพาะถ้าใช้เครื่องเกรดดีพลังงานสูง จะบวม 1-2 สัปดาห์ ขณะเดียวกันผลลัพธ์ที่ได้ ก็จะอยู่ได้ยาวนานยิ่งขึ้น

การทำ HIFU อยู่ได้นานไหม อยู่ได้กี่เดือน?
• หลังจากการทำ HIFU อยู่ได้นานประมาณ 5-6 เดือน บางรายอาจจะคงผลลัพธ์ได้นานถึง 1 ปี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ขึ้นอยู่กับคนไข้สามารถทนเจ็บได้หรือไม่ รวมถึงการดูแลตัวเองหลังทำหัตถการได้อย่างถูกวิธีก็จะยิ่งคงผลลัพธ์ยาวนานมากขึ้น

การเตรียมตัวก่อนทำ HIFU หรือ High Intensity Focus Ultrasound
• ควรพักผ่อนที่เพียงพอ
• งดสูบบุหรี่ หรือดื่มแอลกอฮอล์
• สามารถรับประทานอาหารได้ตามปกติ
• ก่อนทำควรงดแต่งหน้า ทารองพื้น ทาแป้งหรือครีมบำรุงผิวหน้าอื่นๆ
• ก่อนเริ่มทำ HIFU ทางคลินิกจะมีการทำความสะอาดผิวหน้า เพื่อขจัดคราบเครื่องสำอางที่ตกค้าง

ดังนั้น การทำ HIFU ถือเป็นวิธีการยกกระชับผิว แก้ปัญหาผิวหย่อนคล้อย และช่วยให้ผิวกระชับเรียบเนียนขึ้น ดูอ่อนเยาว์ได้อย่างเห็นผล เพื่อให้เกิดความคุ้มค่า และความปลอดภัย ควรศึกษาข้อมูลอย่างละเอียด เลือกทำกับคลินิกที่มีความน่าเชื่อถือ และใช้เครื่อง HIFU ที่ได้มาตรฐาน

ทำความรู้จัก HIFU คืออะไร เจ็บไหม? อันตรายไหม? หลังยกกระชับผิวอยู่ได้นานไหม?
• HIFU หรือ High Intensity Focus Ultrasound เป็นหัตถการยกกระชับผิว ซึ่งสามารถทำได้ทั้งบริเวณใบหน้า, แก้ม, เหนียง, คอ รวมถึงต้นแขน ต้นขา และส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยใช้เครื่องเฉพาะเพื่อยกกระชับผิวและสัดส่วน กระตุ้นในการสร้างคอลลาเจน พร้อมทั้งยังช่วยลดเลือนริ้วรอยร่องตื้น โดยปัจจุบันการทำหัตถการ "ไฮฟู่" กำลังเป็นที่นิยมและผู้คนกำลังให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีคุณประโยชน์ที่หลากหลาย อีกทั้งหลังทำไม่ต้องพักฟื้นให้เสียเวลา ผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงจะเห็นทันทีหลังทำเสร็จ และจะเห็นผลอย่างชัดเจนหลังทำประมาณ 1 เดือน

• HIFU เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการยกกระชับผิว ปรับโครงหน้า หรือผู้ที่อยากเติมคอลลาเจนเข้าสู่ผิวโดยไม่ต้องผ่าตัด ไม่ต้องพักฟื้น
• ทำ HIFU 1 ครั้ง ผลลัพธ์จะอยู่ได้ประมาณ 4-6 เดือน ขึ้นอยู่กับเครื่องไฮฟู่ที่ใช้ ปัญหาผิว และการดูแลตนเองหลังทำหัตถการ
• ริ้วรอยหรือไขมันบางส่วนตามร่างกาย สามารถจัดการได้ด้วยเครื่อง HIFU เพราะไฮฟู่สามารถทำบริเวณร่างกายได้ เช่น หน้าท้อง ต้นแขน ต้นขา เป็นต้น
(ขณะทำ HIFU อาจรู้สึกตึงหรือปวดบริเวณใต้ชั้นผิวเล็กน้อยในระดับที่ทนได้)

ทำ HIFU ช่วยเรื่องอะไรบ้าง?
• สำหรับท่านใดที่อยากรู้ว่า "ไฮฟู่" ช่วยเรื่องอะไร? โดยทั่วไปแล้ว เมื่อมีอายุที่เพิ่มมากขึ้น ผิวหนังของเราก็จะเริ่มหย่อนคล้อยและขาดความกระชับ ส่งผลให้ใบหน้าของเราเริ่มมีร่องลึกตามจุดต่าง ๆ เช่น บริเวณใต้ตา ร่องแก้ม หรือร่องมุมปาก โดยสาเหตุเกิดจากการยืดออกของคอลลาเจนและอีลาสติน เครื่อง HIFU จึงมีคุณสมบัติในการยกกระชับผิว และสามารถกระตุ้นคอลลาเจนในทุกชั้นผิว และสร้างเนื้อเยื่อขึ้นมาใหม่ ซึ่งเนื้อเยื่อที่สร้างขึ้นใหม่นี้จะมีความกระชับและแน่นกว่าเดิม

• ลดความหย่อนคล้อยของผิว ใบหน้า และลำคอ
• ช่วยแก้ปัญหาชั้นไขมันใต้คาง แก้ม และเหนียง
• ช่วยแก้ปัญหาหนังตาตก ช่วยยกหางคิ้วขึ้น
• ช่วยแก้ปัญหาริ้วรอยบนผิวหน้า หน้าผาก และรอบดวงตา
• ช่วยยกกระชับผิวบริเวณร่างกายส่วนต่างๆ เช่น ต้นแขน หน้าท้อง เอว สะโพก และต้นขา เป็นต้น

HIFU มีกะบวนการทำงานอย่างไร?
• HIFU เป็นเทคโนโลยีการยกกระชับผิว มีกระบวนการทำงานโดยการส่งผ่านคลื่นโฟกัสอัลตราซาวนด์ลงไปในผิวชั้นลึก เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างคอลลาเจนใหม่ โดยเครื่อง HIFU ได้มาตรฐานผ่านการรับรอง จะต้องมีการปล่อยพลังงานความแรงอย่างสม่ำเสมอระหว่างยิงคลื่น ซึ่งในการทำหัตถการสามารถเลือกใช้หัวยิงให้เหมาะกับระดับผิวได้

นอกจากนี้ เครื่อง HIFU ยังมีหัวยิงที่หลากหลายตามระดับความลึกของชั้นผิว โดยสามารถแบ่งหัวยิงออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้
• ผิวชั้นบน (Upper Dermis) ใช้หัวความลึก 1.5-2.0 mm. ช่วยเรื่องการยกกระชับ ลดริ้วรอยในระดับที่ไม่ลึกมาก และช่วยกระตุ้นคอลลาเจน
• ผิวชั้นกลาง (Lower Dermis) ใช้หัวความลึก 3 mm. ช่วยยกกระชับใบหน้า ลดไขมันและเซลลูไลท์
• ผิวชั้นเยื่อหุ้มกล้ามเนื้อ (SMAS) เป็นชั้นที่ใช้ในการผ่าตัดดึงหน้าให้กระชับ ใช้หัวความลึก 4.5 mm. ช่วยกระชับกล้ามเนื้อและยกแก้มให้อิ่มฟูขึ้น

การทำหัตถการ HIFU ตำแหน่งใดได้บ้าง?
สามารถทำได้ทุกบริเวณที่ต้องการยกกระชับ เพราะมีหัวยิงไฮฟู่หลายระดับความลึก จึงสามารถช่วยยกกระชับผิวแต่ละตำแหน่งได้อย่างเห็นผล โดยบริเวณที่ทำแล้วเห็นผลลัพธ์ชัดเจน แบ่งออกเป็น 2 ส่วนได้แก่ 
• บริเวณใบหน้า : เหนียง คอ ร่องมุมปาก ร่องแก้ม พวงแก้ม ใต้ตา หน้าผาก เปลือกตาบน และกรอบหน้า
• บริเวณร่างกาย : ต้นแขน ต้นขา เอว หน้าท้อง และสะโพก

HIFU แต่ละตำแหน่งต้องใช้กี่ Line?
โดยทั่วไปแล้วจำนวนไลน์ Line ที่ใช้ในการทำ HIFU เจ้าหน้าที่ผู้ชำนาญการจะเป็นผู้พิจารณาจากตำแหน่งหรือความเหมาะสม รวมถึงปัญหาของสภาพผิว ความหย่อนคล้อย และจำนวนไลน์ของแต่ละบุคคลที่มีความแตกต่างกัน โดยเฉลี่ยแล้วจำนวน Line จะใช้ดังนี้

• ยกหางตา แก้ม หรือเหนียง (ประมาณ 120 Line)
• แก้ม และ เหนียง (ประมาณ 300 Line)
• ใต้ตา ร่องแก้ม เหนียง (ประมาณ 400 Line)
• ทั่วหน้า ลำคอ หรือต้นขา (ประมาณ 700 Line)

การทำ HIFU เจ็บไหม?
• การทำ HIFU เจ็บค่ะ! แต่อยู่ในระดับที่ทนได้ ซึ่งก่อนทำหัตถการจะมีการแปะยาชา เพื่อลดอาการเจ็บ ส่วนความรู้สึกในระหว่างทำคนไข้อาจรู้สึกปวดๆ ตึงๆ เพราะพลังงานที่ลงไปใต้ชั้นผิว หากสามารถทนเจ็บได้มาก ก็จะยิ่งส่งผลลัพธ์ที่ดีต่อการยกกระชับ

การทำ HIFU กี่วันถึงจะเห็นผล?
• การทำ HIFU สามารถเห็นผลการเปลี่ยนแปลงหลังทำได้ตั้งแต่ครั้งแรก ผิวยกกระชับขึ้น 30% หลังจากนั้นภายใน 1-2 เดือน จะค่อยๆกระชับมากขึ้นและเห็นผลชัดเจนเต็มที่ใน 4-6 เดือน หากต้องการให้ผิวกระชับขึ้นอีก สามารถทำหัตถการเพิ่มได้ทุกๆ 3 เดือน เพื่อให้เซลล์ Fibroblast ได้สร้างคอลลาเจน จากนั้นค่อยกลับมาทำซ้ำทุกๆ 6 เดือน เพื่อคงผลลัพธ์และป้องกันความหย่อนคล้อยในอนาคตได้ดียิ่งขึ้น

การทำ HIFU หน้าบวมกี่วัน?
• หลังทำ HIFU อาจมีอาการบวมเกิดขึ้นได้เป็นเรื่องปกติ โดยเฉพาะถ้าใช้เครื่องเกรดดีพลังงานสูง จะบวม 1-2 สัปดาห์ ขณะเดียวกันผลลัพธ์ที่ได้ ก็จะอยู่ได้ยาวนานยิ่งขึ้น

การทำ HIFU อยู่ได้นานไหม อยู่ได้กี่เดือน?
• หลังจากการทำ HIFU อยู่ได้นานประมาณ 5-6 เดือน บางรายอาจจะคงผลลัพธ์ได้นานถึง 1 ปี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ขึ้นอยู่กับคนไข้สามารถทนเจ็บได้หรือไม่ รวมถึงการดูแลตัวเองหลังทำหัตถการได้อย่างถูกวิธีก็จะยิ่งคงผลลัพธ์ยาวนานมากขึ้น

การเตรียมตัวก่อนทำ HIFU หรือ High Intensity Focus Ultrasound
• ควรพักผ่อนที่เพียงพอ
• งดสูบบุหรี่ หรือดื่มแอลกอฮอล์
• สามารถรับประทานอาหารได้ตามปกติ
• ก่อนทำควรงดแต่งหน้า ทารองพื้น ทาแป้งหรือครีมบำรุงผิวหน้าอื่นๆ
• ก่อนเริ่มทำ HIFU ทางคลินิกจะมีการทำความสะอาดผิวหน้า เพื่อขจัดคราบเครื่องสำอางที่ตกค้าง

ดังนั้น การทำ HIFU ถือเป็นวิธีการยกกระชับผิว แก้ปัญหาผิวหย่อนคล้อย และช่วยให้ผิวกระชับเรียบเนียนขึ้น ดูอ่อนเยาว์ได้อย่างเห็นผล เพื่อให้เกิดความคุ้มค่า และความปลอดภัย ควรศึกษาข้อมูลอย่างละเอียด เลือกทำกับคลินิกที่มีความน่าเชื่อถือ และใช้เครื่อง HIFU ที่ได้มาตรฐาน

ทำความรู้จัก HIFU คืออะไร เจ็บไหม? อันตรายไหม? หลังยกกระชับผิวอยู่ได้นานไหม?
• HIFU หรือ High Intensity Focus Ultrasound เป็นหัตถการยกกระชับผิว ซึ่งสามารถทำได้ทั้งบริเวณใบหน้า, แก้ม, เหนียง, คอ รวมถึงต้นแขน ต้นขา และส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยใช้เครื่องเฉพาะเพื่อยกกระชับผิวและสัดส่วน กระตุ้นในการสร้างคอลลาเจน พร้อมทั้งยังช่วยลดเลือนริ้วรอยร่องตื้น โดยปัจจุบันการทำหัตถการ "ไฮฟู่" กำลังเป็นที่นิยมและผู้คนกำลังให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีคุณประโยชน์ที่หลากหลาย อีกทั้งหลังทำไม่ต้องพักฟื้นให้เสียเวลา ผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงจะเห็นทันทีหลังทำเสร็จ และจะเห็นผลอย่างชัดเจนหลังทำประมาณ 1 เดือน

• HIFU เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการยกกระชับผิว ปรับโครงหน้า หรือผู้ที่อยากเติมคอลลาเจนเข้าสู่ผิวโดยไม่ต้องผ่าตัด ไม่ต้องพักฟื้น
• ทำ HIFU 1 ครั้ง ผลลัพธ์จะอยู่ได้ประมาณ 4-6 เดือน ขึ้นอยู่กับเครื่องไฮฟู่ที่ใช้ ปัญหาผิว และการดูแลตนเองหลังทำหัตถการ
• ริ้วรอยหรือไขมันบางส่วนตามร่างกาย สามารถจัดการได้ด้วยเครื่อง HIFU เพราะไฮฟู่สามารถทำบริเวณร่างกายได้ เช่น หน้าท้อง ต้นแขน ต้นขา เป็นต้น
(ขณะทำ HIFU อาจรู้สึกตึงหรือปวดบริเวณใต้ชั้นผิวเล็กน้อยในระดับที่ทนได้)

ทำ HIFU ช่วยเรื่องอะไรบ้าง?
• สำหรับท่านใดที่อยากรู้ว่า "ไฮฟู่" ช่วยเรื่องอะไร? โดยทั่วไปแล้ว เมื่อมีอายุที่เพิ่มมากขึ้น ผิวหนังของเราก็จะเริ่มหย่อนคล้อยและขาดความกระชับ ส่งผลให้ใบหน้าของเราเริ่มมีร่องลึกตามจุดต่าง ๆ เช่น บริเวณใต้ตา ร่องแก้ม หรือร่องมุมปาก โดยสาเหตุเกิดจากการยืดออกของคอลลาเจนและอีลาสติน เครื่อง HIFU จึงมีคุณสมบัติในการยกกระชับผิว และสามารถกระตุ้นคอลลาเจนในทุกชั้นผิว และสร้างเนื้อเยื่อขึ้นมาใหม่ ซึ่งเนื้อเยื่อที่สร้างขึ้นใหม่นี้จะมีความกระชับและแน่นกว่าเดิม

• ลดความหย่อนคล้อยของผิว ใบหน้า และลำคอ
• ช่วยแก้ปัญหาชั้นไขมันใต้คาง แก้ม และเหนียง
• ช่วยแก้ปัญหาหนังตาตก ช่วยยกหางคิ้วขึ้น
• ช่วยแก้ปัญหาริ้วรอยบนผิวหน้า หน้าผาก และรอบดวงตา
• ช่วยยกกระชับผิวบริเวณร่างกายส่วนต่างๆ เช่น ต้นแขน หน้าท้อง เอว สะโพก และต้นขา เป็นต้น

HIFU มีกะบวนการทำงานอย่างไร?
• HIFU เป็นเทคโนโลยีการยกกระชับผิว มีกระบวนการทำงานโดยการส่งผ่านคลื่นโฟกัสอัลตราซาวนด์ลงไปในผิวชั้นลึก เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างคอลลาเจนใหม่ โดยเครื่อง HIFU ได้มาตรฐานผ่านการรับรอง จะต้องมีการปล่อยพลังงานความแรงอย่างสม่ำเสมอระหว่างยิงคลื่น ซึ่งในการทำหัตถการสามารถเลือกใช้หัวยิงให้เหมาะกับระดับผิวได้

นอกจากนี้ เครื่อง HIFU ยังมีหัวยิงที่หลากหลายตามระดับความลึกของชั้นผิว โดยสามารถแบ่งหัวยิงออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้
• ผิวชั้นบน (Upper Dermis) ใช้หัวความลึก 1.5-2.0 mm. ช่วยเรื่องการยกกระชับ ลดริ้วรอยในระดับที่ไม่ลึกมาก และช่วยกระตุ้นคอลลาเจน
• ผิวชั้นกลาง (Lower Dermis) ใช้หัวความลึก 3 mm. ช่วยยกกระชับใบหน้า ลดไขมันและเซลลูไลท์
• ผิวชั้นเยื่อหุ้มกล้ามเนื้อ (SMAS) เป็นชั้นที่ใช้ในการผ่าตัดดึงหน้าให้กระชับ ใช้หัวความลึก 4.5 mm. ช่วยกระชับกล้ามเนื้อและยกแก้มให้อิ่มฟูขึ้น

การทำหัตถการ HIFU ตำแหน่งใดได้บ้าง?
สามารถทำได้ทุกบริเวณที่ต้องการยกกระชับ เพราะมีหัวยิงไฮฟู่หลายระดับความลึก จึงสามารถช่วยยกกระชับผิวแต่ละตำแหน่งได้อย่างเห็นผล โดยบริเวณที่ทำแล้วเห็นผลลัพธ์ชัดเจน แบ่งออกเป็น 2 ส่วนได้แก่ 
• บริเวณใบหน้า : เหนียง คอ ร่องมุมปาก ร่องแก้ม พวงแก้ม ใต้ตา หน้าผาก เปลือกตาบน และกรอบหน้า
• บริเวณร่างกาย : ต้นแขน ต้นขา เอว หน้าท้อง และสะโพก

HIFU แต่ละตำแหน่งต้องใช้กี่ Line?
โดยทั่วไปแล้วจำนวนไลน์ Line ที่ใช้ในการทำ HIFU เจ้าหน้าที่ผู้ชำนาญการจะเป็นผู้พิจารณาจากตำแหน่งหรือความเหมาะสม รวมถึงปัญหาของสภาพผิว ความหย่อนคล้อย และจำนวนไลน์ของแต่ละบุคคลที่มีความแตกต่างกัน โดยเฉลี่ยแล้วจำนวน Line จะใช้ดังนี้

• ยกหางตา แก้ม หรือเหนียง (ประมาณ 120 Line)
• แก้ม และ เหนียง (ประมาณ 300 Line)
• ใต้ตา ร่องแก้ม เหนียง (ประมาณ 400 Line)
• ทั่วหน้า ลำคอ หรือต้นขา (ประมาณ 700 Line)

การทำ HIFU เจ็บไหม?
• การทำ HIFU เจ็บค่ะ! แต่อยู่ในระดับที่ทนได้ ซึ่งก่อนทำหัตถการจะมีการแปะยาชา เพื่อลดอาการเจ็บ ส่วนความรู้สึกในระหว่างทำคนไข้อาจรู้สึกปวดๆ ตึงๆ เพราะพลังงานที่ลงไปใต้ชั้นผิว หากสามารถทนเจ็บได้มาก ก็จะยิ่งส่งผลลัพธ์ที่ดีต่อการยกกระชับ

การทำ HIFU กี่วันถึงจะเห็นผล?
• การทำ HIFU สามารถเห็นผลการเปลี่ยนแปลงหลังทำได้ตั้งแต่ครั้งแรก ผิวยกกระชับขึ้น 30% หลังจากนั้นภายใน 1-2 เดือน จะค่อยๆกระชับมากขึ้นและเห็นผลชัดเจนเต็มที่ใน 4-6 เดือน หากต้องการให้ผิวกระชับขึ้นอีก สามารถทำหัตถการเพิ่มได้ทุกๆ 3 เดือน เพื่อให้เซลล์ Fibroblast ได้สร้างคอลลาเจน จากนั้นค่อยกลับมาทำซ้ำทุกๆ 6 เดือน เพื่อคงผลลัพธ์และป้องกันความหย่อนคล้อยในอนาคตได้ดียิ่งขึ้น

การทำ HIFU หน้าบวมกี่วัน?
• หลังทำ HIFU อาจมีอาการบวมเกิดขึ้นได้เป็นเรื่องปกติ โดยเฉพาะถ้าใช้เครื่องเกรดดีพลังงานสูง จะบวม 1-2 สัปดาห์ ขณะเดียวกันผลลัพธ์ที่ได้ ก็จะอยู่ได้ยาวนานยิ่งขึ้น

การทำ HIFU อยู่ได้นานไหม อยู่ได้กี่เดือน?
• หลังจากการทำ HIFU อยู่ได้นานประมาณ 5-6 เดือน บางรายอาจจะคงผลลัพธ์ได้นานถึง 1 ปี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ขึ้นอยู่กับคนไข้สามารถทนเจ็บได้หรือไม่ รวมถึงการดูแลตัวเองหลังทำหัตถการได้อย่างถูกวิธีก็จะยิ่งคงผลลัพธ์ยาวนานมากขึ้น

การเตรียมตัวก่อนทำ HIFU หรือ High Intensity Focus Ultrasound
• ควรพักผ่อนที่เพียงพอ
• งดสูบบุหรี่ หรือดื่มแอลกอฮอล์
• สามารถรับประทานอาหารได้ตามปกติ
• ก่อนทำควรงดแต่งหน้า ทารองพื้น ทาแป้งหรือครีมบำรุงผิวหน้าอื่นๆ
• ก่อนเริ่มทำ HIFU ทางคลินิกจะมีการทำความสะอาดผิวหน้า เพื่อขจัดคราบเครื่องสำอางที่ตกค้าง

ดังนั้น การทำ HIFU ถือเป็นวิธีการยกกระชับผิว แก้ปัญหาผิวหย่อนคล้อย และช่วยให้ผิวกระชับเรียบเนียนขึ้น ดูอ่อนเยาว์ได้อย่างเห็นผล เพื่อให้เกิดความคุ้มค่า และความปลอดภัย ควรศึกษาข้อมูลอย่างละเอียด เลือกทำกับคลินิกที่มีความน่าเชื่อถือ และใช้เครื่อง HIFU ที่ได้มาตรฐาน

ตรวจระดับฮอร์โมน

ตรวจระดับสมดุลฮอร์โมน Basic Hormones สำหรับผู้หญิงหรือผู้ชายอายุ 7 ปีขึ้นไป
มีรายการตรวจดังนี้

• ตรวจวัดฮอร์โมนโทสเตอโรน (ฮอร์โมนเพศชาย) Testosterone
• ตรวจวัดฮอร์โมนเอสโตรเจน (ฮอร์โมนเพศหญิง) Estradiol(E2) / Estrogen
• ตรวจการทำงานของตับ AST
• ตรวจการทำงานของตับ ALT
• ตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย 8 ระบบ Bio Body Scan
• ตรวจร่างกายโดยแพทย์ผู้ชำนาญการ Physical Examination

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ
• อายุ 7 ปีขึ้นไป สามารถรับบริการได้
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30 นาที ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ
• งดเครื่องดื่มและอาหารอย่างน้อย 8-12 ชั่วโมงก่อนเข้ารับบริการ
• ระยะเวลารอผลประมาณ 1 วัน ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• ผลตรวจจะจัดส่งให้ทางอีเมล
• ชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้ โดยใช้พาสปอร์ตเพื่อยืนยันตัวตน

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด ก่อนตรวจสุขภาพอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
• นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ 6-8 ชั่วโมง
• ควรสวมเสื้อผ้าหลวมๆ สบายตัว เพื่อความสะดวกในการตรวจ ควรเป็นเสื้อผ้าแบบชุดคนละท่อน และไม่สวมเสื้อชั้นในแบบเต็มตัว
• สำหรับผู้หญิง หากกำลังตั้งครรภ์ หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์ ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบก่อนตรวจ

ตรวจระดับสมดุลฮอร์โมน 7 รายการ Performance Hormones สำหรับผู้หญิงหรือผู้ชายอายุ 7 ปีขึ้นไป
มีรายการตรวจดังนี้

• ฮอร์โมนหญิงเอสโตรเจน (Estradiol Hormone: E2)
• ฮอร์โมนควบคุมการตกไข่/ควบคุมสร้างอสุจิ (Follicle Stimulating Hormone: FSH)
• โปรตีนที่จับกับฮอร์โมนเพศ (Sex Hormone Binding Globulin: SHBG)
• ฮอร์โมนกระตุ้นรังไข่/อัณฑะ (Luteinizing Hormone: LH)
• ฮอร์โมนเพศหญิงที่สร้างจากรังไข่ (Progesterone Hormone)
• ฮอร์โมนเพศชาย (Testosterone Hormone)
• ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตและการสร้างฮอร์โมนเพศ (Dehydroepiandrosterone Sulfate: DHEAs)

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ
• อายุ 7 ปีขึ้นไป สามารถรับบริการได้
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30 นาที ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ
• งดเครื่องดื่มและอาหารอย่างน้อย 8-12 ชั่วโมงก่อนเข้ารับบริการ
• ระยะเวลารอผลประมาณ 1 วัน ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• ผลตรวจจะจัดส่งให้ทางอีเมล
• ชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้ โดยใช้พาสปอร์ตเพื่อยืนยันตัวตน

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด ก่อนตรวจสุขภาพอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
• นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ 6-8 ชั่วโมง
• ควรสวมเสื้อผ้าหลวมๆ สบายตัว เพื่อความสะดวกในการตรวจ ควรเป็นเสื้อผ้าแบบชุดคนละท่อน และไม่สวมเสื้อชั้นในแบบเต็มตัว
• สำหรับผู้หญิง หากกำลังตั้งครรภ์ หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์ ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบก่อนตรวจ

ตรวจระดับสมดุลฮอร์โมน 15 รายการ Performance Hormones สำหรับผู้หญิงหรือผู้ชายอายุ 7 ปีขึ้นไป
มีรายการตรวจดังนี้

• ฮอร์โมนหญิงเอสโตรเจน (Estradiol Hormone: E2)
• ฮอร์โมนควบคุมการตกไข่/ควบคุมสร้างอสุจิ (Follicle Stimulating Hormone: FSH)
• โปรตีนที่จับกับฮอร์โมนเพศ (Sex Hormone Binding Globulin: SHBG)
• ฮอร์โมนกระตุ้นรังไข่/อัณฑะ (Luteinizing Hormone: LH)
• ฮอร์โมนเพศหญิงที่สร้างจากรังไข่ (Progesterone Hormone)
• ฮอร์โมนเพศชาย (Testosterone Hormone)
• ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตและการสร้างฮอร์โมนเพศ (Dehydroepiandrosterone Sulfate: DHEAs)
• ฮอร์โมนความเครียด (Cortisol)
• การทำงานของโกรทฮอร์โมน (IGF-1 )
• การทำงานของโกรทฮอร์โมน (IGFBP-3)
• ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ (Thyroid Stimulating Hormone: TSH)
• ฮอร์โมนไทรอยด์ (Thyroid Function Test (FT4))
• ฮอร์โมนไทรอยด์( Free Triodothyonine (FT3))
• ฮอร์โมนโปรแลคติน (Prolactin)
• ฮอร์โมนอินซูลินที่ควบคุมระดับน้ำตาล (insu.lin)

หมายเหตุ
- ค่าเดินทางถึงบ้านในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สำหรับ 1 ท่านเท่านั้น
- กรณีต้องการเข้ารับบริการท่านที่ 2-3 มีค่าบริการเพิ่ม ท่านละ 500 บาท

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ
• อายุ 7 ขึ้นไป สามารถรับบริการได้
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30 นาที ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ
• งดเครื่องดื่มและอาหารอย่างน้อย 8-12 ชั่วโมงก่อนเข้ารับบริการ
• ระยะเวลารอผลประมาณ 1 วัน ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
• ผลตรวจจะจัดส่งให้ทางอีเมล
• ชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้ โดยใช้พาสปอร์ตเพื่อยืนยันตัวตน

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด ก่อนตรวจสุขภาพอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
• นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ 6-8 ชั่วโมง
• ควรสวมเสื้อผ้าหลวมๆ สบายตัว เพื่อความสะดวกในการตรวจ ควรเป็นเสื้อผ้าแบบชุดคนละท่อน และไม่สวมเสื้อชั้นในแบบเต็มตัว
• สำหรับผู้หญิง หากกำลังตั้งครรภ์ หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์ ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบก่อนตรวจ

"รายละเอียดราคา ตรวจระดับฮอร์โมน ผู้หญิง
ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?
ค่าตรวจการทำงานของร่างกายด้วยเครื่อง EIS และตรวจระดับฮอร์โมน 12 รายการ สำหรับผู้หญิง มีรายการตรวจดังนี้
• ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง
• ตรวจฮอร์โมนเพศหญิงเอสตราไดออล (Estradiol: E2)
• ตรวจฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างไข่และไข่สุกในเพศหญิง (FSH)
• ตรวจฮอร์โมนกระตุ้นการไข่ตกในเพศหญิง
• ตรวจฮอร์โมนโปรเจสเตอร์โรน (Progesterone)
• ตรวจฮอร์โมนความเป็นหนุ่มสาว (IGF-1)
• ตรวจปริมาณโปรตีนที่จับกับฮอร์โมน (SHBG) 
• ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ (TSH)
• ตรวจสารตั้งต้นฮอร์โมนเพศ (DHEAS) 
• ตรวจวิตามินดีรวม (Vitamin D Total)
• ปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการ (Doctor Consultant)
• ตรวจ Bio Body Scan 8 รายการ

ค่าตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย ด้วยเครื่อง EIS 8 รายการ มีรายการตรวจดังนี้
• ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด
• ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ
• ตรวจสแกนระบบขับถ่าย และระบบสืบพันธุ์
• ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ
• ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ
• ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร
• ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง
• ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-60 นาที
• ควรนัดหมายล่วงหน้า
• ใช้วิธีการเจาะเลือด และตรวจสแกนร่างกายด้วยเทคโนโลยี Electro Interstitial Scan โดยการส่งกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ เข้าสู่ร่างกาย เพื่อวัดความต้านทานของน้ำที่อยู่ระหว่างเซลล์แต่ละอวัยวะ
• ทราบผลการตรวจประมาณ 7-14 วันหลังรับบริการ
• ผู้รับบริการจะต้องเข้ามาพบแพทย์และผู้เชี่ยวชาญ ทั้งหมด 2 ครั้ง
    - ครั้งแรก เจาะเลือดที่ปลายนิ้วมือ เพื่อส่งไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการพิเศษ และตรวจสแกนร่างกาย 8 ระบบ ด้วยเครื่อง EIS
    - ครั้งที่สอง ฟังการวิเคราะห์ผลเลือดและปรึกษาแพทย์ (ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม)
• หากมีการดามเหล็กในร่างกาย หรือทำบอลลูนหัวใจ จะไม่สามารถตรวจร่างกายในส่วนของการสแกนร่างกายได้
• ราคาดังกล่าวชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้
• สามารถออกใบรับรองแพทย์ได้ ในวันฟังผลหรือวันพบแพทย์โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• ควรนอนพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6 ชั่วโมง ก่อนตรวจ
• งดเครื่องดื่มและอาหาร อย่างน้อย 8-10 ชั่วโมงก่อนตรวจ สามารถจิบน้ำเปล่าได้เล็กน้อย
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ
• หากมีโรคประจำตัวหรือประวัติสุขภาพอื่นๆ กรุณานำผลการตรวจหรือรายงานจากแพทย์มาด้วยเพื่อประกอบการวินิจฉัย
• ควรสวมเสื้อผ้าที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน"

รายละเอียดราคา ตรวจระดับฮอร์โมน 21 รายการ สำหรับผู้ชาย
ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?
ค่าตรวจการทำงานของร่างกายด้วยเครื่อง EIS และตรวจระดับฮอร์โมน 21 รายการ สำหรับผู้ชาย

มีรายการตรวจดังนี้
• ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด ด้วยเครื่อง EIS
• ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ ด้วยเครื่อง EIS
• ตรวจสแกนระบบขับถ่ายและระบบสืบพันธุ์ ด้วยเครื่อง EIS
• ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ ด้วยเครื่อง EIS
• ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ ด้วยเครื่อง EIS
• ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร ด้วยเครื่อง EIS
• ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง ด้วยเครื่อง EIS
• ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร ด้วยเครื่อง EIS
• ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
• ตรวจฮอร์โมนเพศหญิงเอสตราไดออล (Estradiol: E2)
• ตรวจฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างไข่และไข่สุกในเพศหญิง (FSH)
• ตรวจฮอร์โมนกระตุ้นให้อัณฑะสร้างฮอร์โมนเพศชาย
• ตรวจฮอร์โมนเพศชายเทสโทสเตอร์โรน (Testosterone)
• ตรวจฮอร์โมนความเป็นหนุ่มสาว (IGF-1)
• ตรวจปริมาณโปรตีนที่จับกับฮอร์โมน (SHBG)
• ตรวจแยกวิตามิน D2 และ D3
• ตรวจคัดกรองการติดเชื้อเชื้อซิฟิลิส (TPHA)
• ตรวจสารตั้งต้นฮอร์โมนเพศ (DHEAS)
• ตรวจฮอร์โมนโปรเจสเตอร์โรน (Progesterone)
• ตรวจฮอร์โมนเพศชายฟรีเทสโทสเตอร์โรน (Bioavailable Testosterone หรือ Free Testosterone)
• ปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการ (Doctor Consultant)

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-60 นาที
• ควรนัดหมายล่วงหน้า
• ใช้วิธีการเจาะเลือด และตรวจสแกนร่างกายด้วยเทคโนโลยี Electro Interstitial Scan โดยการส่งกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ เข้าสู่ร่างกาย เพื่อวัดความต้านทานของน้ำที่อยู่ระหว่างเซลล์แต่ละอวัยวะ
• ทราบผลการตรวจประมาณ 7-14 วันหลังรับบริการ
• ผู้รับบริการจะต้องเข้ามาพบแพทย์และผู้เชี่ยวชาญ ทั้งหมด 2 ครั้ง
- ครั้งแรก เจาะเลือดที่ปลายนิ้วมือ เพื่อส่งไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการพิเศษ และตรวจสแกนร่างกาย 8 ระบบ ด้วยเครื่อง EIS
- ครั้งที่สอง ฟังการวิเคราะห์ผลเลือดและปรึกษาแพทย์ (ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม)
• หากมีการดามเหล็กในร่างกาย หรือทำบอลลูนหัวใจ จะไม่สามารถตรวจร่างกายในส่วนของการสแกนร่างกายได้
• ราคาดังกล่าวชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้
• สามารถออกใบรับรองแพทย์ได้ ในวันฟังผลหรือวันพบแพทย์โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• ควรนอนพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6 ชั่วโมง ก่อนตรวจ
• งดเครื่องดื่มและอาหาร อย่างน้อย 8-10 ชั่วโมงก่อนตรวจ สามารถจิบน้ำเปล่าได้เล็กน้อย
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ
• หากมีโรคประจำตัวหรือประวัติสุขภาพอื่นๆ กรุณานำผลการตรวจหรือรายงานจากแพทย์มาด้วยเพื่อประกอบการวินิจฉัย
• ควรสวมเสื้อผ้าที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน

ตรวจหัวใจและหลอดเลือด

"รายละเอียดราคา ตรวจคัดกรองโรคหัวใจ
ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?
• ค่าตรวจการทำงานของร่างกายด้วยเครื่อง EIS และตรวจคัดกรองโรคหัวใจ 16 รายการ มีรายการตรวจดังนี้
1.ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด ด้วยเครื่อง EIS
2.ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ ด้วยเครื่อง EIS
3.ตรวจสแกนระบบขับถ่ายและระบบสืบพันธุ์ ด้วยเครื่อง EIS
4.ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ ด้วยเครื่อง EIS
5.ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ ด้วยเครื่อง EIS
6.ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร ด้วยเครื่อง EIS
7.ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง ด้วยเครื่อง EIS
8.ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร ด้วยเครื่อง EIS
9.ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
10.ตรวจระดับคอเลสเตอรอลในเลือด (Total Cholesterol)
11.ตรวจระดับไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride)
12.ตรวจระดับไขมันดี (HDL-Cholesterol)
13.ตรวจระดับไขมันไม่ดี (LDL-Cholesterol)
14.ตรวจดูภาวะอักเสบของร่างกาย (hs-CRP)
15.ตรวจหาความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด (Lipoprotein A) 
16.ปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการ (Doctor Consultant)
• ฟรี! ปรึกษานักกายภาพบำบัด (Physical Consultation)

ค่าตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย ด้วยเครื่อง EIS 8 รายการ มีรายการตรวจดังนี้
• ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด
• ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ
• ตรวจสแกนระบบขับถ่าย และระบบสืบพันธุ์
• ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ
• ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ
• ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร
• ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง
• ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-60 นาที
• ควรนัดหมายล่วงหน้า
• ใช้วิธีการเจาะเลือด และตรวจสแกนร่างกายด้วยเทคโนโลยี Electro Interstitial Scan โดยการส่งกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ เข้าสู่ร่างกาย เพื่อวัดความต้านทานของน้ำที่อยู่ระหว่างเซลล์แต่ละอวัยวะ
• ทราบผลการตรวจประมาณ 7-14 วันหลังรับบริการ
• ผู้รับบริการจะต้องเข้ามาพบแพทย์และผู้เชี่ยวชาญ ทั้งหมด 2 ครั้ง
    - ครั้งแรก เจาะเลือดที่ปลายนิ้วมือ เพื่อส่งไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการพิเศษ และตรวจสแกนร่างกาย 8 ระบบ ด้วยเครื่อง EIS
    - ครั้งที่สอง ฟังการวิเคราะห์ผลเลือดและปรึกษาแพทย์ (ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม)
• หากมีการดามเหล็กในร่างกาย หรือทำบอลลูนหัวใจ จะไม่สามารถตรวจร่างกายในส่วนของการสแกนร่างกายได้
• ราคาดังกล่าวชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้
• สามารถออกใบรับรองแพทย์ได้ ในวันฟังผลหรือวันพบแพทย์โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• ควรนอนพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6 ชั่วโมง ก่อนตรวจ
• งดเครื่องดื่มและอาหาร อย่างน้อย 8-10 ชั่วโมงก่อนตรวจ สามารถจิบน้ำเปล่าได้เล็กน้อย
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ
• หากมีโรคประจำตัวหรือประวัติสุขภาพอื่นๆ กรุณานำผลการตรวจหรือรายงานจากแพทย์มาด้วยเพื่อประกอบการวินิจฉัย
• ควรสวมเสื้อผ้าที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน"

"รายละเอียดราคา ตรวจคัดกรองหลอดเลือดหัวใจ
ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?
• ค่าตรวจการทำงานของร่างกายด้วยเครื่อง EIS และตรวจคัดกรองหลอดเลือดหัวใจ 27 รายการ มีรายการตรวจดังนี้
1.ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด ด้วยเครื่อง EIS
2.ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ ด้วยเครื่อง EIS
3.ตรวจสแกนระบบขับถ่ายและระบบสืบพันธุ์ ด้วยเครื่อง EIS
4.ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ ด้วยเครื่อง EIS
5.ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ ด้วยเครื่อง EIS
6.ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร ด้วยเครื่อง EIS
7.ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง ด้วยเครื่อง EIS
8.ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร ด้วยเครื่อง EIS
9.ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
10.คัดกรองภาวะพร่องเอนไซม์ (G6PD)
11.ตรวจอัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง (ESR)
12.ตรวจระดับน้ำตาลสะสม (HbA1C)
13.ตรวจระดับคอเลสเตอรอลในเลือด (Total Cholesterol)
14.ตรวจระดับไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride)
15.ตรวจระดับไขมันดี (HDL-Cholesterol)
16.ตรวจระดับไขมันไม่ดี (LDL-Cholesterol)
17.ตรวจการทำงานของไต (BUN)
18.ตรวจคัดกรองภาวะโรคไต (Creatinine)
19.ตรวจคัดกรองภาวะโรคเกาต์ (Uric Acid)
20.ตรวจเอนไซม์ตับ (SGOT หรือ AST)
21.ตรวจเอนไซม์ตับ (SGPT หรือ ALT)
22.ตรวจดูภาวะอักเสบของร่างกาย (hs-CRP)
23.ตรวจภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ (Homocysteine)
24.ตรวจปัสสาวะแบบสมบูรณ์ (Urinalysis: UA)
25.ตรวจดูการเก็บเหล็กในร่างกาย (Serum Ferrin)
26.ตรวจดูการเกิดลิ่มเลือด (Fibrinogen Level)
27.ปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการ (Doctor Consultant)
• ฟรี! ปรึกษานักกายภาพบำบัด (Physical Consultation)

ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ
• ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-60 นาที
• ควรนัดหมายล่วงหน้า
• ใช้วิธีการเจาะเลือด และตรวจสแกนร่างกายด้วยเทคโนโลยี Electro Interstitial Scan โดยการส่งกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ เข้าสู่ร่างกาย เพื่อวัดความต้านทานของน้ำที่อยู่ระหว่างเซลล์แต่ละอวัยวะ
• ทราบผลการตรวจประมาณ 7-14 วันหลังรับบริการ
• ผู้รับบริการจะต้องเข้ามาพบแพทย์และผู้เชี่ยวชาญ ทั้งหมด 2 ครั้ง
    - ครั้งแรก เจาะเลือดที่ปลายนิ้วมือ เพื่อส่งไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการพิเศษ และตรวจสแกนร่างกาย 8 ระบบ ด้วยเครื่อง EIS
    - ครั้งที่สอง ฟังการวิเคราะห์ผลเลือดและปรึกษาแพทย์ (ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม)
• หากมีการดามเหล็กในร่างกาย หรือทำบอลลูนหัวใจ จะไม่สามารถตรวจร่างกายในส่วนของการสแกนร่างกายได้
• ราคาดังกล่าวชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้
• สามารถออกใบรับรองแพทย์ได้ ในวันฟังผลหรือวันพบแพทย์โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม

การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
• ควรนอนพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6 ชั่วโมง ก่อนตรวจ
• งดเครื่องดื่มและอาหาร อย่างน้อย 8-10 ชั่วโมงก่อนตรวจ สามารถจิบน้ำเปล่าได้เล็กน้อย
• งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ
• หากมีโรคประจำตัวหรือประวัติสุขภาพอื่นๆ กรุณานำผลการตรวจหรือรายงานจากแพทย์มาด้วยเพื่อประกอบการวินิจฉัย
• ควรสวมเสื้อผ้าที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองหลอดเลือดหัวใจ
• โรคหัวใจคือ ภาวะความผิดปกติและโรคต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบการทำงานและส่วนประกอบเกี่ยวกับหัวใจทั้งหมด แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ

• โรคหัวใจแต่กำเนิด เช่น โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด โรคหลอดเลือดหัวใจเกิน โรคลิ้นหัวใจรั่ว
• โรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง เช่น โรคหัวใจรูห์มาติก โรคกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบจากเชื้อไวรัสหรือเชื้อโรคคอตีบ โรคหัวใจจากความดันโลหิตสูง ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคเยื่อบุหัวใจอักเสบ

สาเหตุของโรคหัวใจ
• นอกจากปัจจัยด้านกรรมพันธุ์ เพศ และอายุที่เพิ่มขึ้นแล้ว ส่วนใหญ่มักเกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ไม่เหมาะสม เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์หรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนมากเกินไป มีความดันโลหิตสูง คอเลสเตอรอลสูง มีความเครียด ไม่ออกกำลังกาย มีภาวะอ้วน น้ำหนักเกิน หรือเกิดจากโรคประจำตัว

อาการของโรคหัวใจ
โรคหัวใจมีอาการหลายแบบ อาการที่พบบ่อยได้แก่
• เจ็บหน้าอก อึดอัด
• หอบเหนื่อย หรือหายใจไม่อิ่ม
• ใจสั่น
• ขาบวม
• เวียนศีรษะ
• อ่อนเพลียมาก หรือเหนื่อยง่ายกว่าปกติ
• แสบร้อนกลางหน้าอก
• ท้องอืด คลื่นไส้อาเจียน

หากคุณมีโรคประจำตัว เช่น ความดันโลหิตสูง มีไขมันหรือคอเลสเตอรอลในเลือดสูง เบาหวานชนิดที่ 2 หรือมีปัจจัยเสี่ยงที่กล่าวไปในข้างต้น ควรเข้ารับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคหัวใจเพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต"

การจัดอันดับสถานที่

4.9


บรรยากาศ
ความสะอาด
พนักงาน
คุ้มค่า

Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic)
22/22 Ratchada-Ramintra Road Ramintra, Khan Na Yao, Bangkok 10230

Mon 09:00 AM - 07:00 PM

Tue 09:00 AM - 07:00 PM

Wed 09:00 AM - 07:00 PM

Thu 09:00 AM - 07:00 PM

Fri 09:00 AM - 07:00 PM

Sat 09:00 AM - 07:00 PM

Sun 09:00 AM - 07:00 PM

รีวิว (เขียนโดยลูกค้าหลักจากที่มาเยือน)
user icon

Praewa

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 33 วันที่ผ่านมา

user icon

ศูนย์รวม

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 4 วันที่ผ่านมา

user icon

ศูนย์รวม

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 4 วันที่ผ่านมา

user icon

Rovenna

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 28 วันที่ผ่านมา

user icon

Rovenna

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 28 วันที่ผ่านมา

user icon

Champagne

ดีมากค่ะ💓 พนักงานน่ารักก พูด อธิบายดีมากค่า

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 36 วันที่ผ่านมา

user icon

Champagne

ดีมากค่ะ💓 พนักงานน่ารักก พูด อธิบายดีมากค่า

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 36 วันที่ผ่านมา

user icon

Baitong

มีกลับมาใช้บริการอีกแน่นอน

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 71 วันที่ผ่านมา

user icon

Kanyapak

ไปถึงได้วัดความดัน เจาะเลือด รอสักพักไปตรวจ bio ก็คือการเอาแผ่นเหล็กมารองตรวจร่างกายระดับเซลล์ คุณหมอก็อธิบายคร่าวๆ วนๆ จากนั้นไปทำ shockwave อันนี้ดี เสร็จก็นั่งรอเกือบชม.เลย ไม่ได้ทำอะไรแค่พนักงานและพยาบาลก็มาถามเรื่อยๆ เสร็จเพิ่งมาบอกว่าให้มาคุณหมออีกทีฟังผลวันอื่น เราว่าบริการดีแต่การจัดเวลาและการสื่อสารกับลูกค้าน้อยไปหน่อยเพราะแต่ละที่ก็มาถามเราว่าทำไรต่อ ซึ่งจริงๆพนักงานต้องบอกเรามั้ยนะ

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 129 วันที่ผ่านมา

user icon

Nungning

บรรยากาศดีมากค่ะ เจ้าหน้าที่บริการดี คุณหมอแนะนำดีมากค่ะ ชอบที่ไม่ยัดเยียดคอร์สต่างๆ ตามใจลูกค้าเอาที่ลูกค้าสะดวก ครั้งหน้าใช้บริการอีกแน่นอนค่ะ ใกล้บ้าน เดินทางสะดวก

verify image รีวิวที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว

โพสต์ 247 วันที่ผ่านมา

ร้านค้าแนะนำ

Frequently Asked Questions

บริการแนะนำที่Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) มีอะไรบ้างและราคาเท่าไหร่?

บริการแนะนำที่ ที่ Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) และราคา:

ตรวจสุขภาพ 6 รายการ BWM Check Up + Lab 6 Items + Bio Body Scan - ราคา ฿999

Shock Wave ฟื้นฟูเฉพาะจุด 1 ตำแหน่ง (ไม่จำกัด Shot ขึ้นอยู่กับแพทย์ประเมิน) ยกเว้นฟื้นฟูภาวะหย่อยสมรรถภาพ - ราคา ฿1,490

ล้างลำไส้ด้วยวารีบำบัด (1 ครั้ง) [Flash Sale eVoucher] - ราคา ฿1,990

ฉีดวิตามินผิว - ผิวออร่า (1 ครั้ง) - ราคา ฿2,900

BMW ตรวจสุขภาพ + ตรวจเลือด (14 รายการ) + ล้างลำไส้ด้วยวารีบำบัด (1 ครั้ง) - ราคา ฿2,990

Colon Hydrotherapy & IV Drip - Aura Booster [Flash Sale eVoucher ] - ราคา ฿2,990

บริการที่ได้รับรีวิวสูงสุดและเป็นที่นิยมที่สุด ที่ Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) นี้คืออะไรบ้าง?

บริการที่ได้รับรีวิวสูงสุดและเป็นที่นิยมที่สุด ที่ Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) และราคา:

โปรแกรมสวนล้างลำไส้ระบบปิด (1 ครั้ง) - ราคา ฿4,000

ล้างลำไส้ด้วยวารีบำบัด (1 ครั้ง) [Flash Sale eVoucher] - ราคา ฿1,990

ฉีดวิตามินผิว - ผิวออร่า (1 ครั้ง) - ราคา ฿2,900

ตรวจสุขภาพ 33 รายการ BWM QUICK Check Up + Lab 25 Items + Bio Body Scan (ทราบผลทันที) - ราคา ฿15,000

BMW ตรวจสุขภาพ + ตรวจเลือด (14 รายการ) + ล้างลำไส้ด้วยวารีบำบัด (1 ครั้ง) - ราคา ฿2,990

ฉีดวิตามิน D + ฉีดวิตามินเสริมภูมิกัน (1 ครั้ง) - ราคา ฿2,990

Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) ตั้งอยู่ที่ไหน?

Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) ตั้งอยู่ที่ 22/22 Ratchada-Ramintra Road Ramintra, Khan Na Yao, Bangkok 10230

เวลาเปิดทำการของ Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) ?

Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) เวลาทำการ

จันทร์ - -

อังคาร - -

พุธ - -

พฤหัสบดี - -

ศุกร์ - -

เสาร์ - -

อาทิตย์ - -

เวาเชอร์หมดอายุเมื่อใดหลังจากซื้อ?

โดยทั่วไป บัตรกำนัลมีอายุการใช้งาน 60 วันหลังจากการซื้อ อย่างไรก็ตาม บริการบางอย่างอาจมีระยะเวลาหมดอายุที่แตกต่างกัน อาจสั้นกว่าหรือยาวกว่า โปรดตรวจสอบเงื่อนไขวันหมดอายุหรือระยะเวลาการใช้งานสำหรับแต่ละบริการในส่วนรายละเอียดของบริการอย่างละเอียด

ฉันจะนัดหมายหรือเปลี่ยนวันที่นัดหมายได้อย่างไร?

คุณสามารถทำการนัดหมายหรือเปลี่ยนแปลงวันนัดกับทางร้านโดยตรงล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วันก่อนวันที่ต้องการเข้ารับบริการ ข้อมูลติดต่อของร้านค้าจะมีอยู่ในรายละเอียดการจองของคุณหลังจากที่คุณทำการจองเรียบร้อยแล้ว

ฉันสามารถยกเลิกการจองหรือคำสั่งซื้อนี้ได้หรือไม่?

โดยทั่วไป การยกเลิกและการคืนเงินสามารถทำได้ภายใน 7 วันหลังจากการซื้อ และการคืนเงินจะเป็นแบบคืนเงินเข้าเครดิตเงินคืน (Cashback) ในบัญชีของคุณ อย่างไรก็ตาม บริการบางอย่างอาจมีเงื่อนไขที่แตกต่างกัน โปรดตรวจสอบนโยบายการยกเลิกและการคืนเงินสำหรับแต่ละบริการที่คุณต้องการซื้ออย่างละเอียด

ฉันควรทำอย่างไรหากฉันมาสาย?

คุณควรมาถึงก่อนเวลานัดอย่างน้อย 15 นาที หากคุณมาสาย อาจทำให้การเข้ารับบริการของคุณล่าช้าได้ หากมาสายเกินกว่า 15 นาที อาจทำให้การนัดหมายถูกยกเลิกได้

ในกรณีที่คุณมาสาย โปรดติดต่อร้านโดยตรงเพื่อแจ้งให้ทราบเกี่ยวกับความล่าช้าของคุณ คุณสามารถค้นหาข้อมูลติดต่อของร้านได้ในรายละเอียดการจองหลังจากทำการซื้อเสร็จเรียบร้อยแล้ว

ทางเลือกการชำระเงินของ Bangkok Wellness Medical Clinic (BWM Clinic) มีกี่รูปแบบ?

เรามีตัวเลือกการชำระเงินหลากหลายเพื่อความสะดวกของคุณ สำหรับการชำระเงินออนไลน์ คุณสามารถชำระเงินด้วยบัตรเครดิต (Visa, MasterCard, American Express), บัตรเดบิต, TrueMoney Wallet, ShopeePay, Rabbit LINE Pay, Alipay, Google Pay, Internet Banking และ PromptPay โปรดทราบว่า ร้านนี้ไม่รับชำระเป็นเงินสด

ฉันสามารถชำระเงินแบบผ่อนชำระได้หรือไม่?

แผนการผ่อนชำระสำหรับบริการที่มีมูลค่า 3,000 บาทขึ้นไป มองหาข้อความ "0% ผ่อนได้" บนบริการที่มีสิทธิ์ แผนการผ่อนชำระมีระยะเวลาสูงสุด 6 เดือนโดยไม่มีดอกเบี้ย

ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ (2019) GoWabi ยังคงดำเนินการเก็บรวบรวมและใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของท่านตามวัตถุประสงค์เดิม ดูเพิ่ม
cartcheck ใส่ตะกร้าแล้ว!